DSpace Repository

แนวคำวินิจฉัยของศาลปกครองเกี่ยวกับหลักความเสมอภาค

Show simple item record

dc.contributor.advisor เกรียงไกร เจริญธนาวัฒน์
dc.contributor.advisor ฤทัย หงส์สิริ
dc.contributor.author เมษยา จิระวงศ์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์
dc.date.accessioned 2017-12-21T02:35:15Z
dc.date.available 2017-12-21T02:35:15Z
dc.date.issued 2549
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56605
dc.description วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 en_US
dc.description.abstract ศาลปกครองเป็นสถาบันหลักของประเทศที่ใช้อำนาจตุลาการอำนวยความยุติธรรมเกี่ยวกับข้อพิพาททางปกครอง โดยมุ่งให้เกิดความสมดุลในการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนและการดำเนินงานของรัฐเพื่อประโยชน์สาธารณะ จากการศึกษาหลักความเสมอภาคและแนวคำวินิจฉัยของศาลปกครองเกี่ยวกับหลักความเสมอภาค พบว่าแม้หลักความเสมอภาคจะเป็นหลักกฎหมายทั่วไปและมีความเป็นสากล แต่ศาลปกครองก็ได้ปรับใช้และตีความหลักความเสมอภาคที่แตกต่างกัน วิทยานิพนธ์ฉบับนี้จึงมุ่งวิเคราะห์แนวคำวินิจฉัยของศาลปกครองเกี่ยวกับหลักความเสมอภาคเพื่อเสนอข้อเสนอแนะบางประการในการแก้ไขประเด็นปัญหาข้างต้น โดยผู้เขียนได้เสนอข้อเสนอแนะไว้ 2 ประการด้วยกัน ได้แก่ 1. ดำเนินการยกระดับมาตรฐานการวินิจฉัยคดีเกี่ยวกับหลักความเสมอภาค และ 2. นำหลักกฎหมายเปรียบเทียบมาสนับสนุนการวินิจฉัยคดีเกี่ยวกับหลักความเสมอภาค เพื่อให้การวินิจฉัยคดีของศาลปกครองเกี่ยวกับหลักความเสมอภาคได้มาตรฐานยิ่งขึ้น และเพื่อให้ศาลปกครองได้ทำหน้าที่ในการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนและการดำเนินงานของรัฐเพื่อประโยชน์สาธารณะอย่างได้ดุล en_US
dc.description.abstractalternative The Administrative Court, with its judicial power to adjudicate administrative disputes, is determined to render justice with a view to maintain equilibrium between the people’s rights and liberties and the public interest. According to the study of the equality principle and the judicial analysis of the Administrative Courts on the equal protection matters, found that even though the equality principle is “a general principle of law” and “universal”, the Administrative Courts apply and interpret the quality principle differently. The purpose of this thesis is, therefore; to analyse the judicial analysis of the Administrative Courts on the equal protection matters in order to purpose some suggestions to solve the above-mentioned issue. The author has proposed two suggestions. First, raise standard of making judicial analysis on the equal protection matters. Second, apply the “comparative law” method in supporting the making of judicial analysis on the equal protection matters. In order to assist the making of judicial analysis of the Administrative Courts on the equal protection matters meet higher standard. For the achievement of the Administrative Court in maintaining equilibrium between the people’s rights and Liberties and the public interest. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2006.135
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject ศาลปกครอง en_US
dc.subject ความเสมอภาค en_US
dc.subject ความเสมอภาค (กฎหมาย) en_US
dc.subject Administrative courts en_US
dc.subject Equality en_US
dc.subject Equality before the law en_US
dc.title แนวคำวินิจฉัยของศาลปกครองเกี่ยวกับหลักความเสมอภาค en_US
dc.title.alternative Judicial analysis of the administrative courts on the equal protection matters en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name นิติศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline นิติศาสตร์ en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor Kriengkrai.C@Chula.ac.th
dc.email.advisor No information provided
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2006.135


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record