DSpace Repository

ผลของการใช้เกมการศึกษาเพื่อพัฒนาความสามารถทางการสังเกต และรับรู้ด้วยสายตาของเด็กก่อนวัยเรียน ที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน

Show simple item record

dc.contributor.advisor วรสุดา บุญยไวโรจน์
dc.contributor.author สุรินทราภรณ์ อนันต์มหพงศ์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned 2017-12-21T04:48:32Z
dc.date.available 2017-12-21T04:48:32Z
dc.date.issued 2533
dc.identifier.isbn 9745777099
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56611
dc.description วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2533 en_US
dc.description.abstract การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการใช้เกมการศึกษาเพื่อพัฒนาความสามารถทางการสังเกตและรับรู้ด้วยสายตาของเด็กก่อนวัยเรียนที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2 ปีการศึกษา 2532 ของโรงเรียนเศรษฐเสถียร จำนวน 15 คนประกอบด้วยนักเรียนที่มีความสามารถทางการสังเกตและรับรู้ด้วยสายตาระดับสูง ปานกลาง และระดับต่ำซึ่งได้มาโดยการคัดเลือกจากคะแนนที่ได้จากการทำแบบทดสอบความสามารถทางการสังเกตและรับรู้ด้วยสายตา เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบทดสอบความสามารถทางการสังเกต และรับรู้ด้วยสายตาเกมการศึกษา จำนวน 48 เกม และแบบประเมินผลภายหลังการใช้เกมการศึกษา ผลการวิจัยพบว่า เกมการศึกษาเพื่อพัฒนาความสารมารถทางการสังเกตและรับรู้ด้วยสายตาสำหรับเด็กก่อนวัยเรียนที่มีความบกพร่องทางการได้ยินที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพเท่ากับ 81.11/94.33 หลังการทดลองนักเรียนมีความสามารถทางการสังเกตและรับรู้ด้วยสายตาสูงขึ้น อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 นักเรียนที่มีความสามารถทางการสังเกตและรับรู้ด้วยสายตาระดับสูง ปานกลาง และระดับต่ำ มีค่าเฉลี่ยของคะแนนความสามารถทางการสังเกตและรับรู้ด้วยสายตาแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 en_US
dc.description.abstractalternative The objective of the research was to study the results of using educational games in developing visual observation and perception ability of preschool hearing impaired children. The sample of this rescarch was 15 children of the second year Sethasatian preschool in 1989. The sample was selected by using aptitude test and classified into children with high, middle and low level of observational ability and perception. The research tools were aptitude test, 48 sets of educational games and evaluation questionnaires. It was found that: the educational games were effective with indicator of 81.11/94.33 for preschool hearing impaired children. The hypothesis was confirmed at the .05 level of significanc that these children have higher observational ability and perception after the experiment. There were significant differences at the .05 level among the post-test mean scores of the students in high, middle and low level of observational ability and perception. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject เกมทางการศึกษา en_US
dc.subject การรับรู้ทางสายตาในเด็ก en_US
dc.subject การรับรู้ในเด็ก en_US
dc.subject การสังเกต (การศึกษา) en_US
dc.subject เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน en_US
dc.subject เด็กพิการ -- พัฒนาการ en_US
dc.subject พัฒนาการของเด็ก en_US
dc.subject Educational games en_US
dc.subject Visual perception in children en_US
dc.subject Perception in children en_US
dc.subject Observation (Educational method) en_US
dc.subject Hearing impaired children en_US
dc.subject Handicapped children -- Development en_US
dc.subject Child development en_US
dc.title ผลของการใช้เกมการศึกษาเพื่อพัฒนาความสามารถทางการสังเกต และรับรู้ด้วยสายตาของเด็กก่อนวัยเรียน ที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน en_US
dc.title.alternative Results of using educational games in developing visual observation and perception ability of preschool hearing impaired children en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name ครุศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline การศึกษาปฐมวัย en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor ไม่มีข้อมูล


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record