dc.contributor.advisor |
เอื้อเอ็นดู ดิศกุล ณ อยุธยา |
|
dc.contributor.author |
นวรัตน์ สิทธิมงคลชัย |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะศิลปกรรมศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2018-02-02T04:26:36Z |
|
dc.date.available |
2018-02-02T04:26:36Z |
|
dc.date.issued |
2549 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56903 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (ศป.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 |
en_US |
dc.description.abstract |
การศึกษาวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหาหลักการออกแบบเรขศิลป์สำหรับวินโดว์-ดิสเพลย์ที่สื่อบุคลิกภาพ จากแนวทางไคเนติคอาร์ต โดยศึกษาบุคลิกภาพไคเนติคอาร์ต และวิเคราะห์หาหลักการการออกแบบเรขศิลป์ ที่สือบุคลิกภาพไคเนติคอาร์ตประกอบกับการใช้รูปแบบศิลปะไคเนติค เพื่อนำไปใช้ในการออกแบบเรขศิลป์สำหรับวินโดว์-ดิสเพลย์ วิธีการวิจัย ผู้วิจัยจะทำการคัดเลือกสมาชิกกลุ่มตัวอย่าง เป็นผลงานไคเนติคอาร์ตของศิลปินที่มีชื่อเสียง จำนวนทั้งสิ้น 115 ภาพ ของศิลปิน 37 ท่าน จากนั้นจึงให้ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ (Expert) ทำการวิเคราะห์หาบุคลิกภาพไคเนติคอาร์ต วิเคราะห์หาหลักการและรูปแบบไคเนติคอาร์ต วิเคราะห์หาหลักการออกแบบเรขศิลป์และวิเคราะห์หาหลักการออกแบบเรขศิลป์สำหรับวินโดว์-ดิสเพลย์ โดยผู้วิจัยทำการสรุปผลตามกลุ่มของบุคลิกภาพไคเนติคอาร์ต 2 กลุ่มใหญ่ดังนี้ 1. บุคลิกภาพไคเนติคอาร์ต ตามภาพลักษณ์ (Image Scale) 2. บุคลิกภาพไคเนติคอาร์ต ตามลักษณะบุคลิกภาพของคน (Human Personality Traits) ทำให้ทราบถึงบุคลิกภาพไคเนติคอาร์ต หลักการออกแบบเรขศิลป์ หลักการออกแบบเรขศิลป์และหลักการออกแบบเลขศิลป์สำหรับวินโดว์-ดิสเพลย์ ที่มีความเหมาะสมกับบุคลิกภาพไคเนติคอาร์ตในแบบต่างๆ โดยจะนำผลการวิเคราะห์ ที่ได้นี้มาใช้เป็นข้อมูลประกอบในงานออกแบบต่อไป ผลการวิจัยพบว่า 1. หลักการใช้รูปแบบไคเนิตคอาร์ต และหลักการออกแบบเรขศิลป์ สามารถสื่อบุคลิกภาพไคเนติคอาร์ต ที่แตกต่างกันได้ 2. สามารถใช้หลักการออกแบบเรขศิลป์ในการออกแบบวินโดว์ดิสเพลย์เพื่อสื่อบุคลิกภาพจากแนวทางไคเนติคอาร์ตได้ |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
This research aims to find out the principles of graphic design for window display by Kinetic arts, Referring to study on personalities / characteristics of Kinetic arts, analyze the principles of graphic designs which presents the personalities of Kinetic arts, and how to use the principles, technicalities of Kinetic arts in graphic designs for window display. An exploratory research by selecting the sample group which are 115 Kinetic art works of 37 famous artists, then experts analyze and identify the personalities, technicalities, principles of graphic designs, and principles of graphic designs for window display. All of them can classify into 2 groups; 1. Kinetic art personality as image (Image Scale) 2. Kinetic art personality as human personality (Human Personality Traits) That the different personalities of Kinetic arts, principles of Kinetic art, principles of graphic design, and principles of graphic design for window display will fit to different personalities of Kinetic arts which can use for further design works. The research results indicate that: 1. Different principles, technicalities of kinetic arts and principles of graphic designs presented different kinetic arts personalities. 2.Kinetic arts which are different in personalities, came from different principles and technicalities of kinetic arts and different principles of graphic designs. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.14457/CU.the.2006.1097 |
|
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
การออกแบบกราฟิก |
en_US |
dc.subject |
บุคลิกภาพ |
en_US |
dc.subject |
ศิลปะไคเนติค |
en_US |
dc.subject |
Graphic design |
en_US |
dc.subject |
Personality |
en_US |
dc.subject |
Kinetic art |
en_US |
dc.title |
การออกแบบเรขศิลป์สำหรับวินโดว์-ดิสเพลย์ที่สื่อบุคลิกภาพจากแนวทางศิลปะไคเนติค |
en_US |
dc.title.alternative |
Graphic design for Window display to present personalty by kinetic arts |
en_US |
dc.type |
Thesis |
en_US |
dc.degree.name |
ศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต |
en_US |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
en_US |
dc.degree.discipline |
นฤมิตศิลป์ |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.email.advisor |
Ua-endoo.D@Chula.ac.th |
|
dc.identifier.DOI |
10.14457/CU.the.2006.1097 |
|