DSpace Repository

พัฒนาการของผู้หญิงในบริบทของความหลากหลายทางวัฒนธรรม : การศึกษาเปรียบเทียบนวนิยายของนักเขียนสตรี

Show simple item record

dc.contributor.advisor ชุติมา ประกาศวุฒิสาร
dc.contributor.author ไพโรจน์ นุชพะเนียด
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์
dc.date.accessioned 2018-02-05T04:45:30Z
dc.date.available 2018-02-05T04:45:30Z
dc.date.issued 2549
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56925
dc.description วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 en_US
dc.description.abstract วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีจุดประสงค์เพื่อวิเคราะห์พัฒนาการของตัวละครเอกหญิง ภายใต้ระบอบสังคมแบบ ปิตาธิปไตย และลัทธิอาณานิคมตะวันตก และศึกษางานเขียนของผู้หญิงในโลกที่สามจากนวนิยายทั้ง 3 เรื่อง ได้แก่ The Bondmaid, Woman at Point Zero และ Nervous Conditions จากการศึกษาพบว่า กระบวนการ สร้างพัฒนาการของตัวละครเอกหญิงเริ่มต้นขึ้นตั้งแต่วัยเด็กไปจนถึงวัยผู้ใหญ่ และสิ้นสุดที่ความเป็นหญิง ซึ่งสอดคล้องกับการย้ายที่อยู่ของตัวละครเอกหญิง โดยเริ่มจากภายในครอบครัวไปสู่โลกสาธารณะ จากการศึกษาทำให้มองเห็นถึงสังคมแบบปิตาธิปไตยที่เชื่อมโยงกับขนบธรรมเนียมประเพณี และโครงสร้าง ทางด้านชนชั้น ตลอดจนลัทธิอาณานิคมตะวันตก ที่เป็นเครื่องกำหนดความหมายของความเป็นหญิงให้แก่ ตัวละครเอก รวมทั้งวิธีการต่อรองกับวัฒนธรรมตะวันตก และวัฒนธรรมในสังคมกระแสหลักเพื่อความอยู่ รอด การศึกษานวนิยายทั้ง 3 เรื่อง จึงทำหน้าที่เป็นเสมือนตัวแทนความต่างและความเปลี่ยนแปลงทาง วัฒนธรรม ในฐานะที่เป็นผลมาจากลัทธิอาณานิคม และทำให้เข้าใจถึงแนวคิดของพัฒนาการของตัวละคร เอกหญิงในนวนิยายทั้ง 3 เรื่อง en_US
dc.description.abstractalternative The objectives of this thesis are to analyze the development of female protagonists within patriarchal and colonized society and to examine Third World women's writing in three novels: The Bondmaid, Woman at Point Zero, and Nervous Conditions. The study shows the process of development of female protagonists beginning with childhood to adolescence and finally to womanhood which corresponds to the female protagonists' movement from the private space at home to the public space in the outsde world. The study also reveals how patriarchal society with its tradition and class structure and how Western colonization construct the meaning of womanhood for the female protagonists and how those protagonist negotiate with both Western and traditional cultures for survival. The study therefore represents differences across cultures and cultural changes as a result of Western colonization, the two important factors for understanding the theme of growing up female in the three selected novels. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2006.574
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject สตรี -- นวนิยาย -- การศึกษาเปรียบเทียบ en_US
dc.subject สตรี -- แง่สังคม en_US
dc.subject นักประพันธ์นวนิยายสตรี en_US
dc.subject Women -- Fiction -- Comparative method en_US
dc.subject Women -- Social conditions en_US
dc.subject Women novelists en_US
dc.title พัฒนาการของผู้หญิงในบริบทของความหลากหลายทางวัฒนธรรม : การศึกษาเปรียบเทียบนวนิยายของนักเขียนสตรี en_US
dc.title.alternative Growing up female in multicultural contexts : a comparative study of novels by women writers en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name อักษรศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline วรรณคดีเปรียบเทียบ en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor Chutima.P@chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2006.574


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record