DSpace Repository

ทัศนคติของอาจารย์ที่มีต่อโครงการบรรณารักษ์ประสานงานประจำคณะ สำนักหอสมุดมหาวิทยาลัยรังสิต

Show simple item record

dc.contributor.advisor พิมพ์รำไพ เปรมสมิทธ์
dc.contributor.author ทิพย์วารี วงษ์เจริญธรรม
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์
dc.date.accessioned 2018-02-16T06:37:43Z
dc.date.available 2018-02-16T06:37:43Z
dc.date.issued 2549
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/57071
dc.description วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 en_US
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาทัศนคติของอาจารย์ที่มีต่อโครงการบรรณารักษ์ประสานงานประจำคณะ สำนักหอสมุดมหาวิทยาลัยรังสิต ในด้านผู้รับผิดชอบ การพัฒนาทรัพยากรสารนิเทศ การบริการ การสื่อสารและประชาสัมพันธ์ และการมีส่วนร่วมของอาจารย์การดำเนินการวิจัย ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากอาจารย์ประจำของมหาวิทยาลัยรังสิต สังกัด 24 คณะ จำนวน 329 คน ผลการวิจัยพบว่า ทัศนคติด้านต่างๆ ที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดมีดังนี้ ด้านคุณสมบัติของบรรณารักษ์ประสานงานประจำคณะ คือ ให้ความช่วยเหลือด้วยความเต็มใจและพยายามให้อาจารย์ได้ในสิ่งที่ต้องการ ส่วนวิธีการประสานงานกับคณะ คือ อาจารย์ติดต่อกับบรรณารักษ์ฯ โดยตรงเมื่อต้องการให้ช่วยเหลือ ด้านการพัฒนาทรัพยากรสารนิเทศ คือ มีการสั่งซื้อทรัพยากรสารนิเทศตามที่อาจารย์เสนอ ด้านการบริการ คือ บริการสืบค้นข้อมูลจากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อสนับสนุนการเรียนการสอน การวิจัย และวิธีการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ คือ การทำบันทึกอย่างเป็นทางการไปยังเลขานุการคณะ เพื่อแจ้งข้อมูลเกี่ยวกับบริการต่างๆ ของห้องสมุดให้อาจารย์ได้รับทราบ อาจารย์ส่วนใหญ่เห็นว่า โครงการนี้เป็นโครงการที่ดี หากการดำเนินโครงการฯเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพจะช่วยสนับสนุนการเรียน การสอน และการวิจัยให้กับอาจารย์ในมหาวิทยาลัยรังสิตได้เป็นอย่างมาก en_US
dc.description.abstractalternative This research aimed to study faculty member's attitudes towards the Library Liaison Program of Rangsit University Library, in terms of, responsible persons, collection development, service, communication and public relations and faculty members' participation in the program. Questionnaires were used to collect data form 329 faculty members of Rangsit University. Results of the study indicate the highest mean score in each aspect as follows: regarding the qualifications of liaison librarian, "willingly provide assistance and try to give faculty member what is needed" receives highest mean score, while the most important liaison method is "faculty members contact librarian directly when needed." Faculty members also perceived that "purchase information resources as requested" most important collection development aspect, whereas "electronic media search service" receives highest score in service aspect. They view that most important communications and public relations method is "sending formal letter to the faculty secretary, providing information on library services to faculty members." Most faculty members perceived that the liaison program is very good and if the operation is efficient, the program will provide teaching and research support for faculty members at Rangsit University. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2006.985
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject มหาวิทยาลัยรังสิต. สำนักหอสมุด en_US
dc.subject มหาวิทยาลัยรังสิต -- อาจารย์ -- ทัศนคติ en_US
dc.subject บรรณารักษ์เฉพาะสาขาวิชา en_US
dc.subject ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา -- ความสัมพันธ์กับอาจารย์และหลักสูตร en_US
dc.subject Rangsit University Library en_US
dc.subject Rangsit University -- Faculty -- Attitudes en_US
dc.subject Subject specialist librarians en_US
dc.subject Academic libraries -- Relations with faculty and curriculum en_US
dc.title ทัศนคติของอาจารย์ที่มีต่อโครงการบรรณารักษ์ประสานงานประจำคณะ สำนักหอสมุดมหาวิทยาลัยรังสิต en_US
dc.title.alternative Faculty members atitudes towards the library liaison program of Rangsit University Library en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name อักษรศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor Pimrumpai.P@Chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2006.985


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record