DSpace Repository

สถานภาพการระบาดของโรคปะการังอันเนื่องจากภาวะโลกร้อนและความเสื่อมโทรมของสิ่งแวดล้อมทางทะเลในแนวปะการังเขตน้ำตื้นบริเวณอ่าวไทยและทะเลอันดามัน : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

Show simple item record

dc.contributor.author นิลนาจ ชัยธนาวิสุทธิ์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันวิจัยทรัพยากรทางน้ำ
dc.coverage.spatial ไทย
dc.date.accessioned 2018-02-19T02:52:52Z
dc.date.available 2018-02-19T02:52:52Z
dc.date.issued 2559
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/57104
dc.description.abstract ได้ศึกษาสถานภาพการระบาดของโรคปะการังอันเนื่องจากภาวะโลกร้อนและความเสื่อมโทรมของสิ่งแวดล้อมทางทะเลในแนวปะการังเขตน้ำตื้นของอ่าวไทยตอนบน (เกาะค้างคาว จังหวัดชลบุรี) อ่าวไทยตอนล่าง (เกาะแตน จังหวัดสุราษฎร์ธานี) และทะเลอันดามัน (เกาะมุกด์ จังหวัดตรัง) ระหว่างฤดูร้อนและฤดูฝนในพ.ศ. 2559 ผลการศึกษาพบโรคปะการังจำนวน 11 ชนิดประกอบด้วย White Plague (WP) Pink Line Syndrome (PLS), White Patch Syndrome (WPS), Porites Trematodiasis (PTR), White Syndrome (WS), Pacific Yellow Band Disease (YBD), Ulcerative White Spot (UWS), Black Band Disease (BBD), Pigmentation Response (PR), Non-focal bleaching (NFB) และ Growth anaomalies (GA) โดยปะการังชนิดที่พบโรคมากที่สุดในทุกพื้นที่ศึกษาคือปะการังโขด (Porites lutea) และโรคชนิดเด่นที่พบมากที่สุดในทุกพื้นที่ศึกษาคือโรค White Syndrome (WS) Pink Line Syndrome (PLS) และ White Patch Syndrome WPS) โดยความชุกของโรครวมในแนวปะการังเขตน้ำตื้นของเกาะแตน จังหวัดสุราษฎร์ธานี (45.19%) และเกาะมุกด์ จังหวัดตรัง (45.81%) ในฤดูร้อนมีค่ำสูงกว่าแนวปะการังเขตน้ำตื้นบริเวณเกาะค้างคาว จังหวัดชลบุรี (9.57%) อย่างมีนัยสำคัญ en_US
dc.description.abstractalternative Outbreak of coral diseases due to impacts of global warming and degradation of marine environment in Shallow water coral reefs was conducted in three study sites consisting of Upper Gulf of Thailand (Khang Khao Island, Cholburi province), Lower Gulf of Thailand (Tan Island, Suratthani province) and Andaman Sea (Mook Island, Trang province) during summer and rainy season in 2016. A total of 11 coral diseases was found consisting of White Plague (WP) Pink Line Syndrome (PLS), White Patch Syndrome (WPS), Porites Trematodiasis (PTR), White Syndrome (WS), Pacific Yellow Band Disease (YBD), Ulcerative White Spot (UWS), Black Band Disease (BBD), Pigmentation Response (PR), Non-focal bleaching (NFB) และ Growth Anomalies (GA). Massive coral (Porites lutea) was the dominant coral that infected all diseases in all study sites and the dominant coral disease in all study sites were White Syndrome (WS) Pink Line Syndrome (PLS) และ White Patch Syndrome WPS). Disease prevalence of shallow water reef in Summer season at Tan Island (45.19%) and Mook Island were significantly higher than that of Khang Khao Island (9.57%). en_US
dc.description.budget ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยงบประมาณแผ่นดินประจ้าปี 2559 สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject ปะการัง -- โรค en_US
dc.subject ปะการัง -- การติดเชื้อ en_US
dc.subject ปะการัง -- ผลกระทบจากภาวะโลกร้อน en_US
dc.subject สุขภาพของระบบนิเวศทางทะเล -- อ่าวไทย en_US
dc.subject สุขภาพของระบบนิเวศทางทะเล -- ทะเลอันดามัน en_US
dc.subject Corals -- Diseases en_US
dc.subject Corals -- Infections en_US
dc.subject Corals -- Effect of global warming on en_US
dc.subject Marine ecosystem health -- Gulf of Thailand en_US
dc.subject Marine ecosystem health -- Andaman Sea en_US
dc.title สถานภาพการระบาดของโรคปะการังอันเนื่องจากภาวะโลกร้อนและความเสื่อมโทรมของสิ่งแวดล้อมทางทะเลในแนวปะการังเขตน้ำตื้นบริเวณอ่าวไทยและทะเลอันดามัน : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ en_US
dc.title.alternative Outbreak of coral diseases due to impacts of global warming and degradation of marine environment in Shallow water coral reefs in the Gulf of Thailand and Andaman Sea en_US
dc.type Technical Report en_US
dc.email.author Nilnaj.C@Chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record