dc.contributor.advisor |
Nitiwadee Srihong |
|
dc.contributor.author |
Withaya Khunatumsataporn |
|
dc.contributor.other |
Chulalongkorn University. Faculté des Lettres |
|
dc.date.accessioned |
2018-02-27T09:29:24Z |
|
dc.date.available |
2018-02-27T09:29:24Z |
|
dc.date.issued |
2014 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/57284 |
|
dc.description |
Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2014 |
en_US |
dc.description.abstract |
Ce travail de mémoire a pour objectif d’analyser le symbolisme religieux de l’espace dans Atala de Chateaubriand. La recherche se compose de deux grandes parties : la présence divine et la valeur symbolique de l’espace et la symbolique chrétienne de l’interrelation des espaces. D’emblée, le rapport de la présence de Dieu avec la valeur symbolique de l’espace se manifeste dans la description de l’auteur qui évoque d’une façon binaire les modes de vie de chaque groupe social en Amérique du Nord au XVIIe siècle. Ces modes de vie permettent d’analyser la valeur symbolique de l’absence et de l’existence de Dieu dans l’espace. Le rôle de la lumière et de l’obscurité dans les cadres spatiaux indique en outre la relation symbolique entre les actes des personnages et la présence ou la non-présence divine dans l’espace. En ce qui concerne le symbolisme chrétien de l’interrelation spatiale, il s’agit du rapport de l’espace d’en haut et de l’espace d’en bas. Le personnage du prêtre incite à étudier son rôle de la liaison entre les deux espaces en tant que représentant de la Divinité témoigné symboliquement par son espace résidentiel et sa fonction sacerdotale. Ensuite, l’intervention de l’univers céleste sur l’univers terrestre est mise en évidence avec la manifestation de la colère divine et puis de la grâce de Dieu sur la terre. Poussés par leur passion, les deux protagonistes changent l’espace en lieu de transgression avant que Dieu ne le transforme en lieu de pénitence en leur accordant sa miséricorde. Enfin, grâce à la présence de la religion dans une communauté, l’univers christianisé est transformé en paradis terrestre, c’est-à-dire, le Royaume paradisiaque (Royaume de Dieu) descendu du Ciel pour s’établir dans le monde humain. |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ความหมายเชิงสัญลักษณ์ทางคริสต์ศาสนาของพื้นที่ในนวนิยาย เรื่อง อตาลา ของ ชาโตบริยอง ประเด็นหลักในการศึกษาประกอบด้วยสองหัวข้อใหญ่ ได้แก่ สัญลักษณ์ของพื้นที่กับการดำรงอยู่ของพระเจ้า และสัญลักษณ์ของความสัมพันธ์ระหว่างพื้นที่ ความหมายเชิงสัญลักษณ์ของพื้นที่กับการดำรงอยู่ของพระเจ้าวิเคราะห์ได้จากการที่ผู้ประพันธ์บรรยายวิถีชีวิตความเป็นอยู่สองรูปแบบของกลุ่มสังคมในทวีปอเมริกาเหนือสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 17 วิถีชีวิตของแต่ละกลุ่มชนสะท้อนให้เห็นถึงสัญลักษณ์ของการดำรงอยู่หรือไม่ได้ดำรงอยู่ของพระเจ้าในแต่ละพื้นที่ นอกจากนี้แสงสว่างและความมืดในพื้นที่ต่างๆ ยังบ่งถึงความสัมพันธ์เชิงสัญลักษณ์ระหว่างพฤติกรรมของตัวละคร กับการดำรงอยู่หรือไม่ของพระเจ้าในพื้นที่นั้นๆ ส่วนการวิเคราะห์สัญลักษณ์ทางคริสต์ศาสนาในความสัมพันธ์ระหว่างพื้นที่นั้น มุ่งศึกษาความสัมพันธ์ของพื้นที่สูงกับพื้นที่ต่ำ โดยมีบาทหลวงเป็นตัวเชื่อมระหว่างสองพื้นที่ ในฐานะที่เป็นตัวแทนของพระเจ้า อันวิเคราะห์ได้จากความหมายเชิงสัญลักษณ์ของพื้นที่อยู่อาศัยและบทบาทของผู้เป็นพระ นอกจากนี้ ความเกี่ยวข้องระหว่างสวรรค์กับพื้นพิภพ ยังปรากฏผ่านสัญลักษณ์อันแสดงถึงพระพิโรธและพระเมตตาคุณของพระผู้เป็นเจ้าในโลกมนุษย์ ตัณหาราคะของตัวละครเอกส่งผลให้พื้นที่ที่พวกเขาอยู่ กลายเป็นสถานที่แห่งการล่วงละเมิดก่อนที่พระเจ้าจะเปลี่ยนให้เป็นสถานที่แห่งการสำนึกบาปด้วยพระการุณย์ที่ทรงมีต่อมนุษย์ และในท้ายที่สุด เมื่อมีศาสนาคริสต์ปรากฏอยู่ในสังคมใด ที่อยู่อาศัยของสังคมนั้นก็จะเป็นดั่งสรวงสวรรค์บนพื้นพิภพนั่นเอง |
en_US |
dc.language.iso |
en |
en_US |
dc.publisher |
Chulalongkorn University |
en_US |
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.14457/CU.the.2014.452 |
|
dc.rights |
Chulalongkorn University |
en_US |
dc.subject |
Christianity |
en_US |
dc.subject |
Jesus Christ |
en_US |
dc.subject |
Religious drama |
en_US |
dc.subject |
Fiction |
en_US |
dc.subject |
Belief and doubt |
en_US |
dc.subject |
คริสต์ศาสนา |
en_US |
dc.subject |
พระเยซูคริสต์ |
en_US |
dc.subject |
บทละครศาสนา |
en_US |
dc.subject |
นวนิยาย |
en_US |
dc.subject |
ความเชื่อ |
en_US |
dc.title |
L’ANALYSE DU SYMBOLISME RELIGIEUX DE L’ESPACE DANS ATALA DE CHATEAUBRIAND |
en_US |
dc.title.alternative |
การวิเคราะห์ความหมายเชิงสัญลักษณ์ทางศาสนาของพื้นที่ในนวนิยาย เรื่อง อตาลา ของชาโตบริยอง |
en_US |
dc.type |
Thesis |
en_US |
dc.degree.name |
Master of Arts |
en_US |
dc.degree.level |
Master's Degree |
en_US |
dc.degree.discipline |
French |
en_US |
dc.degree.grantor |
Chulalongkorn University |
en_US |
dc.email.advisor |
No information provided |
|
dc.identifier.DOI |
10.14457/CU.the.2014.452 |
|