dc.contributor.advisor |
สมจารี ปรียานนท์ |
|
dc.contributor.author |
วรัฏฐา เจริญสถาพงษ์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี |
|
dc.date.accessioned |
2018-04-10T01:54:33Z |
|
dc.date.available |
2018-04-10T01:54:33Z |
|
dc.date.issued |
2549 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58031 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 |
en_US |
dc.description.abstract |
การวิจัยนี้จัดทำขึ้นเพื่อหาแบบจำลอง (Model) ในการประเมินต้นทุนสำหรับการพัฒนาเว็บแอพพลิเคชัน ทั้งนี้ได้นำเทคนิคการวิเคราะห์ฟังก์ชันพอยต์ (Function Point Analysis Technique) ซึ่งได้รับการยอมรับ และมีการนำมาใช้อย่างแพร่หลายในการประเมินราคาแอพพลิเคชันซอฟต์แวร์ทั่วๆ ไปมาเป็นแนวทางในการดำเนินงานวิจัย งานวิจัยนี้จึงมุ่งหาค่าควาพยายาม (Effort) ในการพัฒนาเว็บไซต์ และกำหนดให้มีหน่วยเป็น WOP (Web Object Point) ซึ่งในฟังก์ชันมีการกำหนดหน่วยเป็น FP (Function Point) โดยมีขั้นตอนการหาแบบจำลองการคำนวณค่าของ WOP ดังนี้ (1) หาองค์ประกอบและส่วนประกอบที่จำเป็นในการพัฒนาจากเว็บไซต์ที่จดทะเบียนโดเมน .th จำนวน 100 เว็บไซต์ (2) หาปัจจัยที่ส่งผลต่อระยะเวลาในการสร้างส่วนประกอบของเว็บไซต์ จากหน่วยตัวอย่างจำนวน 60 คน (3) หาจำนวนองค์ประกอบและส่วนประกอบที่จำแนกในแต่ละระดับความซับซ้อน (ต่ำ ปานกลาง สูง) (4) หาจำนวนวันที่ใช้พัฒนาแต่ละระดับความซับซ้อนและนำมาปรับให้อยู่ในรูปสัดส่วนต่อกัน และ (5) กำหนดแบบจำลองให้การคำนวณค่าความพยายามดังนี้ W = L+I+M+B+T โดย (W) คือค่าผลรวมของค่าความพยายามทั้งหมดในการสร้างเว็บไซต์ มีหน่วยเป็น WOP ซึ่งได้จากการนำค่าความพยายามในการสร้างองค์ประกอบต่างๆ ในเว็บไซต์ ความถูกต้องของแบบจำลองทดสอบโดยหาค่า WOP จากเว็บไซต์ต่างๆ จำนวน 14 เว็บไซต์และได้สำรวจจำนวนวันที่ใช้สร้างแต่ละเว็บไซต์จากผู้พัฒนาเว็บไซต์จำนวน 17 คน โดยได้รับผลการทดสอบสอดคล้องกับสมมติฐานคือ ถ้าค่า WOP ที่คำนวณได้มีค่ามากหน่วยตัวอย่างจะประเมินด้วยจำนวนที่ใช้ในการสร้างมากกว่าค่า WOP ที่น้อยกว่า จึงสรุปได้ว่าเป็นแบบจำลองที่สามารถนำไปใช้ได้จริง และสามารถนำจำนวน WOP ที่ได้ไปปรับเป็นจำนวนวันที่ใช้ในการพัฒนาเว็บไซต์หรือปรับเป็นราคาในการพัฒนาเว็บไซต์ได้อย่างเป็นมาตรฐานเดียวกัน |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
The objective of this research is to find model for estimating cost of web application development. This research use Function Point Analysis Technique which is widely used in estimate application software as a guideline for processing the research. This research aims to estimate the amount of effort required to develop a web application. This estimated effort is represented in term of WOP (Web Object Point) instead of FP (Function Point) which used in function Point Analysis Technique. The steps for finding a Web cost estimation model are (1) Determine components and elements that required to develop a web application from 100 websites that register domain as .th (2) Specify factors that influence the time spent on developing the element of web application by questionnaire of 60 web application developer (3) Calculate components and elements of web application determine by level of complexity (low average high) (4) Calculate the amount of day required to develop each level of complexity and adjusted to the proportionate term and (5) Specify the Model for estimate effort that is W = L + I + M + B + T when (W) is Sum of overall effort required to develop web application, calculated in term of WOP which derive from the effort required to develop the components and elements of web application. The Accuracy of the Model was tested by finding WOP from 14 websites and questionnaire of 17 web application developers about the amount of day required to develop website. The result of questionnaire is corresponding to the assumption that if the website have more WOP, the samples will estimate with more required day to develop than the website that have less WOP. This result indicate that the model is accurate and can be use to estimate cost of web application development in real world. The calculated WOP can be converted to the amount of day required to develop website or price of developing web site. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.14457/CU.the.2006.2020 |
|
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
โปรแกรมประยุกต์บนเว็บ |
en_US |
dc.subject |
โปรแกรมประยุกต์บนเว็บ -- ต้นทุน |
en_US |
dc.subject |
โปรแกรมประยุกต์บนเว็บ -- การประมาณราคา |
en_US |
dc.subject |
การพัฒนาเว็บไซต์ |
en_US |
dc.subject |
การพัฒนาเว็บไซต์ -- ต้นทุน |
en_US |
dc.subject |
การพัฒนาเว็บไซต์ -- การประมาณราคา |
en_US |
dc.subject |
Web applications |
en_US |
dc.subject |
Web applications -- Costs |
en_US |
dc.subject |
Web applications -- Estimates |
en_US |
dc.subject |
Web site development |
en_US |
dc.subject |
Web site development -- Costs |
en_US |
dc.subject |
Web site development -- Estimates |
en_US |
dc.title |
วิธีการประเมินต้นทุนสำหรับการพัฒนาเว็บแอพพลิเคชัน |
en_US |
dc.title.alternative |
Cost estimation method web application development |
en_US |
dc.type |
Thesis |
en_US |
dc.degree.name |
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต |
en_US |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
en_US |
dc.degree.discipline |
การพัฒนาซอฟต์แวร์ด้านธุรกิจ |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.email.advisor |
Somjaree.P@Chula.ac.th |
|
dc.identifier.DOI |
10.14457/CU.the.2006.2020 |
|