DSpace Repository

THE OVERALL ESTHETIC ASSESSMENT OF ANTERIOR SINGLE-TOOTH IMPLANT RESTORATION: MODIFIED OBJECTIVE CRITERIA

Show simple item record

dc.contributor.advisor Atiphan Pimkhaokham
dc.contributor.advisor Soontra Panmekiate
dc.contributor.author Pongsakorn Komutpol
dc.contributor.other Chulalongkorn University. Faculty of Dentistry
dc.date.accessioned 2018-04-11T01:34:30Z
dc.date.available 2018-04-11T01:34:30Z
dc.date.issued 2017
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58248
dc.description Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2017
dc.description.abstract Objectives: The aim of this study was to observe the correlation of esthetic outcomes of single-tooth implant restoration when using Pink Esthetic Score/White Esthetic Score and the new modified assessment (Modified Objective Criteria; MOC) Materials and Methods: This crossectional retrospective study, up to 5 years, recruited 26 patients who single implant in maxillary central incisor area was placed. All the implants were recalled. Demographic data, intraoral photograph, dental model, periapical radiograph and CBCT were taken. One examiner assessed the esthetic outcomes by using PES/WES and MOC (gingiva, prosthesis and bone foundation) with 2 weeks between each evaluation. The score of both groups were analyzed by using K-mean cluster analysis. ANOVA was used to observe the different mean score among clusters, which 0.05 was the significant level. Results: All the recalled implants were found in healthy status. The mean PES/WES was 15.7 ± 1.9 (maximum possible = 20), whereas the mean MOC was 30.7 ± 3.9. The K-mean cluster analysis could categorized the data into 3 clusters namely excellent, medium and divergent cluster, which gingiva and bone foundation score could be significantly divided, however, prosthetic part could not. Conclusions: Combining the bone assessment into esthetic evaluation could presented the esthetic outcome differently from previous routine. The divergent group should be further observed the sustainability of esthetic.
dc.description.abstractalternative วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาถึงความสัมพันธ์ของผลการประเมินด้านความสวยงามของงานบูรณะฟันด้วยรากเทียมแบบหนึ่งซี่โดยใช้เกณฑ์การประเมินพิงค์เอสเตติกสคอร์/ไวท์เอสเตติกสคอร์ และเกณฑ์การประเมินแบบใหม่ที่มีการปรับแต่งวัตถุพิสัย วัสดุและวิธีการทดลอง: การศึกษาย้อนหลังแบบตัดขวาง 5 ปีนี้ ได้รวบรวมคนไข้ที่มีการบูรณะฟันตัดกลางบนด้วยรากเทียมแบบหนึ่งซี่จำนวน 26 คนโดยคนไข้เหล่านี้ได้ถูกตรวจเชคสภาพรากเทียมซึ่งประกอบด้วยการบันทึกข้อมูลทั่วไป , ถ่ายภาพในช่องปาก , ถ่ายภาพรังสีรอบรากเทียม และถ่ายภาพรังสีสามมิติ หลังจากนั้นผู้ทำการทดสอบได้ประเมินความสวยงามของรากเทียมดังกล่าวโดยใช้เกณฑ์การประเมินพิงค์เอสเตติกสคอร์/ไวท์เอสเตติกสคอร์ และเกณฑ์การประเมินแบบใหม่ที่มีการปรับแต่งวัตถุพิสัย (ประกอบด้วยการประเมินเหงือก , ครอบฟันบนรากเทียม และสภาพกระดูกรอบรากเทียม) โดยใช้เวลาระหว่างการประเมินทั้งสอง 2 อาทิตย์ คะแนนความสวยงามของทั้งสองกลุ่มจะถูกนำมาวิเคราะห์โดยการจัดกลุ่มแบบเคมีนและใช้อะโนวาเพื่อประเมินความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของคะแนนความสวยงาม โดยกำหนดให้ 0.05 เป็นระดับนัยสำคัญ ผลการทดลอง: รากเทียมที่ถูกนำมาศึกษาอยู่ในสภาพที่ดี ค่าเฉลี่ยความสวยงามของกลุ่มที่ประเมินด้วยพิงค์เอสเตติกสคอร์/ไวท์เอสเตติกสคอร์มีค่า 15.7 ± 1.9 (คะแนนเต็ม 20) , ในขณะที่ค่าเฉลี่ยคะแนนจากกลุ่มประเมินแบบปรับแต่งวัตถุพิสัยมีค่าเท่ากับ 30.7 ± 3.9 นอกจากนี้การจัดกลุ่มเคมีนสามารถแบ่งกลุ่มรากเทียมออกได้เป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มคะแนนดี , ปานกลางและผกผัน โดยสามารถแบ่งเหงือกและสภาพกระดูกรอบรากเทียมออกได้อย่างมีนัยสำคัญ อย่างไรก็ตามคะแนนครอบฟันบนรากเทียมไม่สามารถแยกออกจากกันได้อย่างมีนัยสำคัญ สรุปผลการทดลอง: การสอดแทรกการประเมินกระดูกรอบรากเทียมเข้าไปในการประเมินความสวยงามรอบรากเทียมสามารถแสดงผลลัพธ์ทางความสวยงามแตกต่างออกไปโดยกลุ่มผกผันนี้ควรอย่างยิ่งที่จะได้ทำการศึกษาต่อไปถึงความยั่งยืนคงทนของความสวยงามนี้
dc.language.iso en
dc.publisher Chulalongkorn University
dc.relation.uri http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2017.232
dc.rights Chulalongkorn University
dc.title THE OVERALL ESTHETIC ASSESSMENT OF ANTERIOR SINGLE-TOOTH IMPLANT RESTORATION: MODIFIED OBJECTIVE CRITERIA
dc.title.alternative การประเมินความสวยงามโดยรวมของงานบูรณะฟันด้วยรากเทียมบริเวณฟันหน้าแบบหนึ่งซี่โดยการปรับเปลี่ยนเกณฑ์วัตถุพิสัย
dc.type Thesis
dc.degree.name Master of Science
dc.degree.level Master's Degree
dc.degree.discipline Esthetic Restorative and Implant Dentistry
dc.degree.grantor Chulalongkorn University
dc.email.advisor Atiphan.P@Chula.ac.th,atiphan.p@chula.ac.th
dc.email.advisor Soontra.P@Chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.58837/CHULA.THE.2017.232


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record