DSpace Repository

QUANTITATIVE MICROBIAL RISK ASSESSMENT OF STREPTOCOCCUS SUIS SEROTYPE 2 FROM PORK CONSUMPTION

Show simple item record

dc.contributor.advisor Suphachai Nuanualsuwan
dc.contributor.author Phrutsamon Wongnak
dc.contributor.other Chulalongkorn University. Faculty of Veterinary Science
dc.date.accessioned 2018-04-11T01:39:53Z
dc.date.available 2018-04-11T01:39:53Z
dc.date.issued 2017
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58385
dc.description Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2017
dc.description.abstract This study aimed at determine prevalence and concentration of Streptococcus suis contamination in pork production chains as well as evaluate the health risk attributable to S. suis serotype 2 from pork consumption in Thailand. In total, 492 pig-to-pork and 480 environmental samples were collected from 4 pork production chains in Bangkok. Besides, total 1,036 pork samples were also collected from traditional and modern trades in Chiangmai, Phayao, Nan, Khonkaen, Mukdahan, Saraburi, Nakhonpathom, and Phang-nga provinces. All samples were enumerated using plate count method. S. suis isolates were confirmed by detecting cps2-j gene, followed by Quellung reaction. A stochastic risk assessment model was constructed using the available information together with the results from this study. Total 11.4% (56/492) of pig-to-pork samples and 5.2% (25/480) of environmental samples from Bangkok were positive to S. suis. Total 1% (10/1,036) of pork samples from both traditional and modern trades were positive to S. suis, with an average concentration of 4.22 log cfu/g. There was no S. suis serotype 2 detected from all pork samples. The estimated daily risk of S. suis serotype 2 illness from pork consumption was 1.3 x 10-7 or equilvalent to 4.6 cases per 100,000 persons, annually. A sensitivity analysis revealed that exposure dose, bacterial concentration at consumption and storage time at home greatly impacted the risk estimate.
dc.description.abstractalternative การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินหาความชุกและความเข้มข้นของเชื้อสเตร็ปโตค็อกคัส ซูอิสที่ปนเปื้อนภายในสายโซ่การผลิตเนื้อสุกร อีกทั้งเพื่อประเมินความเสี่ยงสุขภาพที่เกิดจากการติดเชื้อสเตร็ปโตค็อกคัส ซูอิส ซีโรทัยป์ 2 ผ่านการบริโภคเนื้อสุกรในประเทศไทย ตัวอย่างจากกรุงเทพมหานคร ถูกเก็บมาจาก 4 สายโซ่การผลิตเนื้อสุกร ซึ่งประกอบด้วยตัวอย่างสุกรและผลิตภัณฑ์สุกร 492 ตัวอย่าง และตัวอย่างจากสิ่งแวดล้อม 480 ตัวอย่าง อีกทั้งตัวอย่างจากพื้นที่ต่างจังหวัด ซึ่งได้แก่จังหวัดเชียงใหม่ พะเยา น่าน ขอนแก่น มุกดาหาร สระบุรี นครปฐม และพังงา ประกอบด้วยเนื้อสุกรที่ถูกจำหน่ายในตลาดแบบดั้งเดิม และตลาดทันสมัยทั้งสิ้น 1,036 ตัวอย่าง ถูกเก็บเพื่อตรวจหาเชื้อสเตร็ปโตค็อกคัส ซูอิสเชิงปริมาณ โดยวิธีตรวจนับจุลินทรีย์บนอาหารเลี้ยงเชื้อ การยืนยันซีโรทัยป์ 2 ใช้วิธีการตวรจหายีน cps2-J ร่วมกับปฏิกิริยา Quellung การศึกษานี้พัฒนาแบบจำลองการประเมินความเสี่ยงชนิดสโตแคสติกโดยอาศัยข้อมูลที่ถูกเผยแพร่สาธารณะ ร่วมกับผลการศึกษาจากการศึกษาครั้งนี้ ผลการศึกษาพบว่า ความชุกของเชื้อสเตร็ปโตค็อกคัส ซูอิสในตัวอย่างสุกรและผลิตภัณฑ์สุกรและตัวอย่างจากสิ่งแวดล้อมในกรุงเทพมหานครคิดเป็น 11.4% (56/492) และ 5.2% (25/480) ตามลำดับ มีการตรวจพบเชื้อสเตร็ปโตค็อกคัส ซูอิสจากตัวอย่างเนื้อสุกรจากทั้งตลาดแบบดั้งเดิม และตลาดทันสมัยทั้งสิ้น 1% (10/1,036) และมีความเข้มข้นเฉลี่ย 4.22 log cfu ต่อกรัม ไม่มีการตรวจพบสเตร็ปโตค็อกคัส ซูอิส ซีโรทัยป์ 2 ในตัวอย่างเนื้อสุกรจากการศึกษาครั้งนี้ ค่าประมาณความเสี่ยงต่อวันจากความเจ็บป่วยโดยเชื้อสเตร็ปโตค็อกคัส ซูอิส ซีโรทัยป์ 2 อยู่ที่ 1.3 x 10-7 หรือเทียบเท่าผู้ป่วย 4.6 รายต่อประชากร 100,000 คนต่อปี ผลจากการวิเคราะห์ความอ่อนไหวพบว่า ปริมาณสัมผัสต่อวัน ความเข้มข้นของเชื้อขณะบริโภค และเวลาในการเก็บรักษาเนื้อสุกรในครัวเรือน มีอิทธิพลมากต่อค่าประมาณความเสี่ยง
dc.language.iso en
dc.publisher Chulalongkorn University
dc.relation.uri http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2017.559
dc.rights Chulalongkorn University
dc.title QUANTITATIVE MICROBIAL RISK ASSESSMENT OF STREPTOCOCCUS SUIS SEROTYPE 2 FROM PORK CONSUMPTION
dc.title.alternative การประเมินความเสี่ยงจุลินทรีย์เชิงปริมาณของสเตร็ปโตค็อกคัส ซูอิส ซีโรทัยป์ 2 จากการบริโภคเนื้อสุกร
dc.type Thesis
dc.degree.name Master of Science
dc.degree.level Master's Degree
dc.degree.discipline Veterinary Public Health
dc.degree.grantor Chulalongkorn University
dc.email.advisor Suphachai.N@Chula.ac.th,Suphachai.N@Chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.58837/CHULA.THE.2017.559


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record