dc.contributor.advisor |
Chanida Palanuvej |
|
dc.contributor.advisor |
Nijsiri Ruangrungsi |
|
dc.contributor.author |
Kirana Praserdmek |
|
dc.contributor.other |
Chulalongkorn University. College of Public Health Sciences |
|
dc.date.accessioned |
2018-04-11T01:41:51Z |
|
dc.date.available |
2018-04-11T01:41:51Z |
|
dc.date.issued |
2017 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58423 |
|
dc.description |
Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2017 |
|
dc.description.abstract |
Oroxylum indicum (L.) Kurz, belonging to Bignoniaceae family, is known in Thai common name as Phe-Kaa. In Thailand, it has been used in the treatment of a cough and as a purgative. However, the pharmacognostic specification of this crude drug and its chrysin content have never been established in Thailand. Consequently, this study aimed to exhibit the pharmacognostic specification, analyses of the content of chrysin and fixed oil chemical constituents of O. indicum seeds. O. indicum were collected from 15 different locations in Thailand. The results indicated that the contents of loss on drying, moisture, total ash, acid-insoluble ash, ethanol soluble extractive value and water soluble extractive value were found to be 3.32 ± 0.12, 6.89 ± 0.80, 4.40 ± 0.08, 0.47 ± 0.05, 9.74 ± 0.68 and 12.11 ± 0.80 % by dry weight, respectively. The macroscopic and microscopic characteristics were illustrated in detail. Thin layer chromatographic fingerprints were also established. O. indicum seeds were extracted in 95% ethanol using Soxhlet apparatus. Chrysin of the ethanolic extract was analyzed by thin layer chromatography (TLC) using silica gel 60 GF254 as stationary phase, toluene: chloroform: acetone: formic acid (5:4:1:0.2) as mobile phase, visualization under daylight, UV 254 nm, UV 365 nm and staining with 10 % sulfuric acid reagent. For quantitative analysis of chrysin, the contents in 15 ethanolic extracts were evaluated by TLC-densitometry under UV 269 nm and TLC image analysis under UV 254 nm using image J software which were respectively found to be 0.17 ± 0.05 and 0.20 ± 0.07 % by dry weight. The method validity of TLC-densitometry and TLC image analysis were shown that the calibration range was polynomial with 0.3 – 1.2 µg/spot (R2=0.9998 and R2=0.9998). The accuracy was 109.2 – 109.7 %recovery and 96.7 – 116.0 % recovery. The repeatability was 1.98 ± 0.78%RSD and 3.00 ± 2.23%RSD. The intermediate precision was 4.30 ± 2.24%RSD and 5.12 ± 3.71%RSD. LOD were 0.015 and 0.016 and LOQ were 0.046 and 0.048 µg/spot. The robustness was 2.05%RSD and 4.07%RSD, respectively. Additionally, the fixed oil of O. indicum was extracted in petroleum ether using Soxhlet apparatus. Fatty acid composition of seed oil was analyzed by GC/MS after methylation and 9 components were identified. It was indicated that the main compositions of the fatty acids in O. indicum seed oil are oleic acid (67.99 ± 5.98), palmitic acid (10.22 ± 0.88), behenic acid (7.28 ± 5.60), gondoic acid (5.60 ± 1.28), lignoceric acid (3.11 ± 2.83), linoleic acid (2,69 ± 0.77), stearic acid (1.86 ± 0.42), arachidic acid (1.02 ± 0.31) and 9, 10-dihydroxystearic acid (0.41 ± 0.20) % respectively. |
|
dc.description.abstractalternative |
เพกาหรือลิ้นฟ้ามีชื่อวิทยาศาสตร์คือ Oroxylum indicum (L.) Kurz ซึ่งอยู่ในวงศ์ Bignoniaceae ในประเทศไทยมีการใช้ในการรักษาอาการไอและใช้เป็นยาระบาย อย่างไรก็ตาม ข้อกำหนดทางเภสัชเวทและการวิเคราะห์ปริมาณสารคริซินในเมล็ดเพกายังไม่เคยมีการจัดทำในประเทศไทยมาก่อน ดังนั้นการศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาข้อกำหนดทางเภสัชเวท วิเคราะห์ปริมาณสารคริซินและองค์ประกอบทางเคมีของน้ำมันเมล็ดเพกา โดยเก็บรวบรวมเมล็ดเพกาจาก 15 พื้นที่ในประเทศไทย ผลการทดลองพบว่าน้ำหนักที่หายไปเมื่อทำให้แห้ง ปริมาณความชื้น ปริมาณเถ้ารวม เถ้าที่ไม่ละลายในกรด ปริมาณสารสกัดด้วยเอธานอลและปริมาณสกัดด้วยน้ำ มีค่าเป็นร้อยละ 3.32 ± 0.12, 6.89 ± 0.80, 4.40 ± 0.08, 0.47 ± 0.05, 9.74 ± 0.68 และ 12.11 ± 0.80 โดยน้ำหนักแห้ง ตามลำดับ ลักษณะทางมหทรรศน์และจุลทรรศน์ของเมล็ดเพกาได้แสดงรายละเอียดทางพฤกษศาสตร์โดยภาพลายเส้น การจัดทำลายพิมพ์องค์ประกอบทางเคมีโดยเทคนิคทางทินเลเยอร์โครมาโทกราฟี สกัดเมล็ดเพกาด้วยเอทานอลเข้มข้นร้อยละ 95 โดยใช้เครื่องซอกห์เลต วิเคราะห์สารคริซินในสิ่งสกัดจากเอทานอลด้วยเทคนิคทินเลเยอร์โครมาโทกราฟี โดยใช้ตัวทำละลายโทลูอีนต่อคลอโรฟอร์มต่ออะซีโตนต่อกรดฟอร์มิก (5:4:1:0.2) เป็นวัฏภาคเคลื่อนที่ ตรวจวัดภายใต้แสงขาว แสงอัลตราไวโอเลตความยาวคลื่น 254 นาโนเมตร ความยาวคลื่น 365 นาโนเมตร และทำปฏิกิริยาเกิดสีกับ 10% ของกรดซัลฟิวริก วิเคราะห์ปริมาณสารคริซินโดยวิธีเดนซิโทเมทรีภายใต้แสงอัลตราไวโอเลตที่ความยาวคลื่น 269 นาโนเมตรและวิธีภาพถ่ายวิเคราะห์ภายใต้แสงอัลตราไวโอเลตที่ความยาวคลื่น 254 นาโนเมตรโดยใช้โปรแกรมอิมเมจเจ พบสารคริซินปริมาณร้อยละ 0.17 ± 0.05 และ 0.20 ± 0.07 โดยน้ำหนัก การทดสอบความเที่ยงตรงของวิธีทินเลเยอร์โครมาโทกราฟี-เด็นซิโตเมทรีและวิธีทินเลเยอร์โครมาโทกราฟีโดยวิเคราะห์ภาพถ่ายโดยใช้โปรแกรมอิมเมจเจ พบว่ามีช่วงวิเคราะห์แบบโพลีโนเมียล 0.3 - 1.2 ไมโครกรัมต่อจุด โดยมีค่าสัมประสิทธิ์การตัดสินใจเท่ากับ 0.9998 และ 0.9998 ค่าเฉลี่ยการคืนกลับร้อยละ 109.2 - 109.7 และ 96.7 - 116.0 ค่าความสามารถในการวัดซ้ำ มีค่าระหว่างร้อยละ 1.98 ± 0.78% RSD และ 3.00 ± 2.23% RSD ค่าความแม่นยำมีค่าระหว่างร้อยละ 4.30 ± 2.24% RSD และ 5.12 ± 3.71% RSD ขีดจำกัดของการตรวจพบมีค่า 0.015 และ 0.016 ไมโครกรัมต่อจุด และขีดจำกัดของการหาปริมาณ มีค่า 0.046 และ 0.048 ไมโครกรัมต่อจุด ค่าความคงที่มีค่าสัมประสิทธิ์ของการกระจายร้อยละ 2.05% RSD และ 4.07% RSD ตามลำดับ นอกจากนี้ สกัดน้ำมันเมล็ดเพกาด้วยปิโตรเลียมอีเทอร์โดยใช้เครื่องซอกห์เลต วิเคราะห์กรดไขมันในน้ำมันเมล็ดเพกาโดยวิธีแกสโครมาโทกราฟี-แมสสเปคโทเมทรี และพบว่าประกอบด้วยกรดไขมัน 9 ชนิด ได้แก่ กรดโอเลอิก (ร้อยละ 67.99 ± 5.98), กรดปามมิติก (ร้อยละ 10.22 ± 0.88), กรดบีฮีนิค (ร้อยละ 7.28 ± 5.60), กรดกอนโดอิค (ร้อยละ 5.60 ± 1.28) กรดลิกโนซิลิค (ร้อยละ 3.11 ± 2.83), กรดไลโนเลอิก (ร้อยละ 2.69 ± 0.77), กรดสเตียริก (ร้อยละ 1.86 ± 0.42), กรดอะราชิดิก (ร้อยละ 1.02 ± 0.31) และกรด 9, 10 ไดไฮดรอกซี่สเตียริก (ร้อยละ 0.41 ± 0.20) ตามลำดับ |
|
dc.language.iso |
en |
|
dc.publisher |
Chulalongkorn University |
|
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2017.514 |
|
dc.rights |
Chulalongkorn University |
|
dc.title |
PHARMACOGNOSTIC SPECIFICATION AND CHRYSIN CONTENT OF OROXYLUM INDICUM SEED |
|
dc.title.alternative |
ข้อกำหนดทางเภสัชเวทและปริมาณวิเคราะห์สารคริซินในเมล็ดเพกา |
|
dc.type |
Thesis |
|
dc.degree.name |
Master of Science |
|
dc.degree.level |
Master's Degree |
|
dc.degree.discipline |
Public Health Sciences |
|
dc.degree.grantor |
Chulalongkorn University |
|
dc.email.advisor |
Chanida.P@Chula.ac.th,Chanida.P@Chula.ac.th |
|
dc.email.advisor |
nijsiri.r@chula.ac.th |
|
dc.identifier.DOI |
10.58837/CHULA.THE.2017.514 |
|