dc.contributor.advisor |
บุษกร บิณฑสันต์ |
|
dc.contributor.author |
วัชรพล คงอุดมสิน |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะศิลปกรรมศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2018-04-11T01:44:51Z |
|
dc.date.available |
2018-04-11T01:44:51Z |
|
dc.date.issued |
2560 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58474 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560 |
|
dc.description.abstract |
งานวิจัยเรื่อง กรรมวิธีการสร้างซอด้วงของครูประสิทธิ์ ทัศนากร มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประวัติการสร้างซอด้วง ศึกษากรรมวิธีการสร้างซอด้วง และศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพเสียงซอด้วงของครูประสิทธิ์ ทัศนากร โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ ผลการวิจัยพบว่าครูประสิทธิ์ ทัศนากร ได้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้การสร้างซอด้วง จากครูบุญมี ฉ่ำบุญรอด นักดนตรีไทยและช่างทำเครื่องดนตรีไทย ชาวจังหวัดสมุทรสงคราม โดยได้ยึดกรรมวิธีการสร้างแบบของครูบุญมี ฉ่ำบุญรอด จากนั้นในปี พ.ศ. 2532 ได้ปรับเปลี่ยนรูปแบบขึ้นมาจนเป็นรูปแบบที่มีคุณภาพเสียงและรูปทรงเป็นอัตลักษณ์เฉพาะของตนเอง กรรมวิธีการสร้างซอด้วงของครูประสิทธิ์ ทัศนากร เป็นกรรมวิธีการสร้างที่ละเอียด ประณีต เน้นคุณภาพเสียง สัดส่วนที่เหมาะสม สมดุล สวยงาม วัสดุที่ใช้สร้างเป็นวัสดุที่คัดสรรมาอย่างดี ส่งผลให้คุณภาพเสียงซอด้วงมีความคมชัด ดัง กังวาน และมีแก้วเสียงที่เป็นอัตลักษณ์เฉพาะ ลวดลายการกลึงมีความงดงาม มีการประดิษฐ์หย่องซอด้วงขึ้นเป็นรูปแบบของตนเอง ปัจจัยที่ส่งผลให้ซอด้วงของครูประสิทธิ์ ทัศนากร มีคุณภาพเสียงที่เป็นอัตลักษณ์เฉพาะนอกเหนือจากความพิถีพิถันดังกล่าวแล้ว คือการกลึงภายในกระบอกซอด้วงซึ่งส่งผลให้เกิดเสียงที่ไพเราะและนุ่มนวลขึ้นซึ่งเป็นเอกลักษณ์ที่ไม่เหมือนใคร |
|
dc.description.abstractalternative |
The research titled Making Methods of Saw Duang by Prasit Tasanakorn examined the history and craftsmanship of Saw Duang and the factors related to sound quality using qualitative research methodology. It found that Prasit Tasanakorn studied with Boonmee Chamboonrod, the musician and Saw Duang maker from the Samut Songkhram Province. Later in 1989, he developed his own techniques. His fabrication process is delicate with an emphasis on sound quality. He used the best quality materials and components that results in an attractive instrument both visually and auditorily. He carved an uniform low-relief texture into the interior surface of the sound box to reduce the harshness of the sound which makes his Saw Duang's unique. |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
|
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2017.849 |
|
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
|
dc.title |
กรรมวิธีการสร้างซอด้วงของครูประสิทธิ์ ทัศนากร |
|
dc.title.alternative |
MAKING METHODS OF SAW DUANG BY PRASIT TASANAKORN |
|
dc.type |
Thesis |
|
dc.degree.name |
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
ดุริยางค์ไทย |
|
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
|
dc.email.advisor |
Bussakorn.S@Chula.ac.th,bsumrongthong@yahoo.com |
|
dc.identifier.DOI |
10.58837/CHULA.THE.2017.849 |
|