DSpace Repository

ต้นแบบรางสะท้อนแสงอาทิตย์สำหรับหน่วยทำความเย็น : รายงานการวิจัย

Show simple item record

dc.contributor.author วัฒนา รติสมิทธ์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันวิจัยพลังงาน
dc.date.accessioned 2018-04-23T03:05:43Z
dc.date.available 2018-04-23T03:05:43Z
dc.date.issued 2554
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58560
dc.description.abstract โดยทั่วไปการทำงานของระบบแผงรับแสงอาทิตย์ชนิดรวมแสงจำเป็นต้องมีระบบติดตามดวงอาทิตย์เพื่อที่จะสามารถรับแสงที่ตำแหน่งโฟกัสได้ตลอดเวลา อีกทั้งแผงรับแสงไม่สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพในสภาพภูมิอากาศที่มีเมฆ เนื่องจากมีปริมาณรังสีกระจายค่อนข้างสูง โดยแผงรับแสงอาทิตย์แสงไม่สามารถนำรังสีกระจายมาใช้ประโยชน์ได้ จึงเป็นปัญหาที่สำคัญในการใช้งานแผงรับแสงอาทิตย์โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงฤดูฝนเป้าหมายของงานวิจัยคือการออกแบบแผงรับแสงอาทิตย์แบบใหม่ที่ไม่ต้องอาศัยระบบติดตามดวงอาทิตย์และมีสมบัติในการรับรังสีกระจายได้ดี แผงรับแสงอาทิตย์ประกอบด้วย รางพาราโบลา หรือ รางพาราโบลาแบบผสม 3 ราง ที่มีจุดโฟกัสต่ำ วางในทิศทางต่างกัน และวางท่อที่มีภาคตัดขวางของท่อยาวในแนวตั้งของแต่ละราง การออกแบบนี้ทำให้แผงรับแสงสามารถรับแสงในทิศทางต่าง ๆ โดยไม่มีชิ้นส่วนเคลื่อนไหว ในขณะเดียวกัน สามารถรับรังสีกระจายได้ดี แผงรับแสงอาทิตย์ที่ออกแบบ สามารถทำอุณหภูมิสูงสุดภายในหลอดแก้ว 146 องศาเซลเซียส ซึ่งมีความเหมาะสมสำหรับการทำความเย็น en_US
dc.description.abstractalternative In the general operation of a solar collector, the concentrating systems require sun tracking to maintain sunlight focusing at the collector. In addition, the solar collector cannot work effectively in a cloudy condition as the diffused light cannot be concentrated passively. Consequently, it faces a serious problem in utilizing such a solar collector to collect solar energy, especially in the rainy season. The goal of this research is to design a new solar collector, which does not contain a solar tracking system and has an ability to collect the diffused sunlight. Newly developed system consists of three deep parabolic troughs or compound parabolic troughs, with low focus points facing the sun at different angles and the elongated cross section tubes at the axis of the trough. The salient feature of this design is that the system can collect the sunlight energy at every angle with no moving part, and at the same time can receive the diffused light. This collector yields higher temperatures than flat plate solar collector, the maximum temperature in evacuated tube is 146 degrees Celsius, and is therefore suitable for cooling application. en_US
dc.description.sponsorship งานวิจัยได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากโครงการส่งเสริมการทำงานวิจัยเชิงลึกในสาขาที่วิชาที่มีศักยภาพสูง กองทุนรัชดาภิเษกสมโภชและโครงการพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ (Project No. EN1180I) en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject แผงรวมแสงอาทิตย์ en_US
dc.subject พลังงานแสงอาทิตย์ en_US
dc.subject การทำความเย็นและเครื่องทำความเย็น en_US
dc.title ต้นแบบรางสะท้อนแสงอาทิตย์สำหรับหน่วยทำความเย็น : รายงานการวิจัย en_US
dc.title.alternative The Prototype of solar collector for cooling unit en_US
dc.type Technical Report en_US
dc.email.author ไม่มีข้อมูล


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record