dc.contributor.author |
อาภาณี เหลืองนฤมิตชัย |
|
dc.contributor.author |
ศิริรัตน์ จิตการค้า |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วิทยาลัยปิโตรเลียมและปิโตรเคมี |
|
dc.date.accessioned |
2018-06-04T11:19:04Z |
|
dc.date.available |
2018-06-04T11:19:04Z |
|
dc.date.issued |
2548 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59022 |
|
dc.description.abstract |
นอกจากการใช้เป็นสารดั้งดันในกระบวนการผลิตสารเคมีแล้ว ก๊าซไฮโดรเจนยังได้รับความสนใจในการใช้เป็นเชื้อเพลิงในเทคโนโลยีฟูเอลเซลล์ (Fuel cell) ปฏิกิริยาการรีฟอร์มก๊าซมีเทนด้วยไอน้ำโดยเป็นปฏิกิริยาหลักในการผลิตก๊าซไฮโดรเจน ในงานวิจัยนี้ได้ทำการศึกษาปฏิกิริยาการรีฟอร์มก๊าซมีเทนด้วยไอน้ำโดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยานิกเกิลบนเคแอลซีโอไลท์ (KL zeolite) ซึ่งเตรียมโดยวิธีอิมเพรกเนชัน (Impregnation method) และได้ทำการทดสอบคุณสมบัติของตัวเร่งปฏิกิริยาโดยใช้ BET, XRD, TPR วัตถุประสงค์หลักในงานวิจัยนี้ เพื่อศึกษาผลกระทบของปริมาณนิกเกิลที่ใช้ สารปรับปรุงคุณภาพของตัวเร่งปฏิกิริยาอัตราส่วนของปริมาณน้ำต่อก๊าซมีเทน และยังได้ทำการศึกษาเปรียบเทียบคุณสมบัติระหว่างตัวเร่งปฏิกิริยานิกเกิลบนเคแอลซีโอไลท์ และตัวเร่งปฏิกิริยานิกเกิลบนแอลฟาอลูมินา จากการทดลองพบว่า ปริมาณนิกเกิลบนเคแอลซีโอไลท์ที่เหมาะสมคือ 7% โดยน้ำหนัก ในการเติมสารปรับปรุงคุณภาพ คือ ซีเรีย พบว่า สามารถช่วยในการเพิ่มการกระจายตัวของนิกเกิล และลดการสะสมตัวของคาร์บอนบนตัวเร่งปฏิกิริยา แต่ไม่สามารถปรับปรุงด้านการเกิดปฏิกิริยาของตัวเร่งปฏิกิริยา ในการศึกษาผลกระทบของอัตราส่วนของปริมาณน้ำต่อก๊าซมีเทนพบว่า ที่อัตราส่วนของน้ำต่อก๊าซมีเทนเท่ากับ 1 ตัวเร่งปฏิกิริยามีการเสื่อมสภาพเมื่อเวลาในการทำปฏิกิริยาเพิ่มขึ้น แต่ที่อัตราส่วนของน้ำต่อก๊าซมีเทนเท่ากับ 2 และ 3 พบว่าไม่เกิดการเสื่อมสภาพของตัวเร่งปฏิกิริยา ในการศึกษาเปรียบเทียบคุณสมบัติในการเร่งปฏิกิริยา พบว่าตัวเร่งปฏิกิริยานิกเกิลบนเคแอลซีดอไลท์ มีคุณสมบัติในการเร่งปฏิกิริยา และอายุการใช้งานที่ดี เมื่อเปรียบเทียบกับตัวเร่งปฏิกิริยาทางการค้า |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
In addition to its use for industrial feed, hydrogen has received a great deal of attention in fuel cell applications with the goal of reducing negative impacts on the environment. Steam reforming of methane using supported Ni catalysts is a major process in hydrogen production. In this work, the steam reforming of methane using Ni supported on KL zeolite catalysts was studied. The catalysts were prepared by the incipient wetness impregnation method (IWI) and characterized using BET, XRD, TPR and TPO techniques. The main purpose of this work was to study the effects of Ni loading, ceria promoter and the H₂O/CH₄ ratio over Ni supported on KL zeolites. A comparison study between Ni/KL zeolite and Ni/α-alumina catalysts was also studied for the effect of the H₂O/CH₄ ratio. Among the catalysts examined, 7%Ni-3%Ce/KL zeolite exhibited the best catalytic activity and stability. The addition of a ceria promoter enhanced Ni dispersion and reduced carbon deposition on the catalyst. At a H₂O/CH₄ ratio of 1, methane conversion of KL zeolite catalyst slightly decreased with time on stream while at H₂O/CH₄ ratios of 2 and 3, methane conversion remained constant KL zeolite catalyst was comparable to commercial catalysts in terms of catalytic activity and stability. |
en_US |
dc.description.sponsorship |
สนับสนุนโดย งบประมาณแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ 2548 |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
เชื้อเพลิงไฮโดรเจน |
en_US |
dc.subject |
เซลล์เชื้อเพลิง |
en_US |
dc.subject |
รีฟอร์มมิงด้วยตัวเร่งปฏิกิริยา |
en_US |
dc.subject |
คาร์บอนไดออกไซด์ |
en_US |
dc.subject |
ตัวเร่งปฏิกิริยานิกเกิล |
en_US |
dc.title |
การผลิตไฮโดรเจนจากปฏิกิริยารีฟอร์มมิงด้วยคาร์บอนไดออกไซด์และน้ำด้วยตัวเร่งปฏิกิริยานิเกิล : รายงานฉบับสมบูรณ์ |
en_US |
dc.type |
Technical Report |
en_US |
dc.email.author |
Apanee.L@Chula.ac.th |
|
dc.email.author |
Sirirat.J@Chula.ac.th |
|