dc.contributor.author |
สมพร สวัสดิสรรพ์ |
|
dc.contributor.author |
วินัย ศิริจิตร |
|
dc.contributor.author |
วัชรี จังศิริวัฒนธำรง |
|
dc.contributor.author |
วิจิตรา วิพิศมากูล |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะทันตแพทยศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2018-06-08T03:44:21Z |
|
dc.date.available |
2018-06-08T03:44:21Z |
|
dc.date.issued |
2541 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59058 |
|
dc.description.abstract |
เนื้องอกอมีโลบลาสโตมาเป็นเนื้องอกชนิดไม่ร้ายที่มีจุดกำเนิดมาจากเซลล์ที่เกี่ยวข้องกับการสร้างฟัน เนื้องอกชนิดนี้พบได้บ่อยในกระดูกขากรรไกร อุบัติการณ์ของเนื้องอกอมีโลบลาสโตมาในประชากรไทยสูงกว่าที่มีรายงานในเชื้อชาติอื่นมาก จุดมุ่งหมายของการศึกษานี้เพื่อศึกษาถึงคุณสมบัติและลักษณะโดยละเอียดของเนื้องอกนี้ในผู้ป่วยชาวไทย โดยใช้วิธีอิมมูโนฮิสโตเคมีและจุลทรรศน์อิเล็กตรอนชนิดทรานสมิชชั่น และรวมถึงการเพาะเลี้ยงเซลล์เนื้องอกในห้องปฏิบัติการเพื่อใช้เป็นแบบจำลองสำหรับการศึกษา จากการศึกษาโดยวิธีอิมมูโนฮิสโตเคมีพบว่าเซลล์เนื้องอกอมีโลบลาสโตมามีการสร้างโปรทีนไซโตเคอราตินชนิดน้ำหนักโมเลกุลสูง ไซโตเคอราตินชนิด 19 และไวเมนทิน แสดงให้เห็นว่าเซลล์เนื้องอกเป็นเอ็พพิธีเลียลเซลล์ที่มีคุณสมบัติในการสร้างโปรทีนเฉพาะตัว ลักษณะโดยละเอียดของเนื้องอกเมื่อศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนชนิดทรานสมิชชั่นพบว่าเนื้องอกอมีโลบลาสโตมาประกอบด้วยเซลล์คล้ายอมีโลบบาสต์และเซลล์คล้ายสเต็ลเลท เซลล์ทั้งสองชนิดมีลักษณะโครงสร้างภายในเซลล์จัดเป็นพวกเอ็พพิธีเลียมชนิดที่มีการเรียงตัวหลายชั้น กลุ่มเซลล์เนื้องอกถูกล้อมรอบด้วยเบสเมนท์เมมเบรนที่มีลักษณะแตกต่างกันไปตามชนิดของเนื้องอก ส่วนที่เป็นเอ็พพิธีเลียลเซลล์ของเนื้องอกเหล่านี้สามารถเพาะเลี้ยงได้ในห้องปฏิบัติการโดยคงลักษณะของการเป็นเอ็พพิธีเลียลเซลล์ได้เป็นระยะเวลาสั้น ๆ หลังจากนั้นถูกแทนที่ด้วยเซลล์ไฟโบรบลาสต์ |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
Ameloblastoma is a benign tumor of odontogenic origin, commonly found in the jaw bones. The occurrent rate of this tumor in Thai population is much higher than previously reported in the other races. The objective of this study was investigation of the tumor cells from Thai patients by using immunohistochemical and transmission electron microscopic techniques. In addition, cell culture of the tumor was performed as a study model for the tumor cells. The result showed that, immunohistochemically, ameloblastoma cells synthesized high molecular weight cytokeratin, cytokeratin 19 and vimentin. The result suggested these tumor cells were epithelial cells with distinet intracellular proteins. Microscopically, ameloblastoma comprised of ameloblast-like and stellate-like cells. These two types of cells had ultrastructural characteristics of stratified epithelium. The tumor cells were surrounded by different patterns of basement membrane in different types of ameloblastoma. By using cell culture technique, the clone of epithelial tumor cells was successfully established and maintained for a short time, then the cells were replaced by fibroblasts. |
en_US |
dc.description.sponsorship |
งานวิจัยนี้ได้รับทุนจากงบประมาณแผ่นดิน ปี 2536 |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
เนื้องอก |
en_US |
dc.subject |
ฟัน |
en_US |
dc.subject |
อมีโลบลาสโตมา |
en_US |
dc.title |
การศึกษาลักษณะของเซลล์เนื้องอกอมีโลบลาสโตมาในคนและในเซลล์เนื้องอกที่เพาะเลี้ยงนอกร่างกายด้วยกล้องจุลทรรศน์ : รายงานผลการวิจัย |
en_US |
dc.title.alternative |
Human ameloblastoma : light microscopical, ultrastructural and in vitro studies |
en_US |
dc.type |
Technical Report |
en_US |
dc.email.author |
ไม่มีข้อมูล |
|
dc.email.author |
ไม่มีข้อมูล |
|
dc.email.author |
ไม่มีข้อมูล |
|
dc.email.author |
Vichittra.V@Chula.ac.th |
|