dc.contributor.author |
พิชญ์ ศุภผล |
|
dc.contributor.author |
ประสิทธิ์ ภวสันต์ |
|
dc.contributor.author |
ดวงดาว อาจองค์ |
|
dc.contributor.author |
อิทธิพล แจ้งชัด |
|
dc.contributor.author |
ปิยฉัฎร ช่วยสีนวล |
|
dc.contributor.author |
ผกากรอง สังข์เสนาะ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วิทยาลัยปิโตรเลียมและปิโตรเคมี |
|
dc.date.accessioned |
2018-08-07T10:27:10Z |
|
dc.date.available |
2018-08-07T10:27:10Z |
|
dc.date.issued |
2553 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59328 |
|
dc.description.abstract |
งานวิจัยนี้ทำการศึกษาการขึ้นรูปของแผ่นเส้นใยโพลิอะคลิคโรไนไตร์ดที่ได้จากกระบวนการปั่นเส้นใยด้วยไฟฟ้าสถิตโดยสภาวะที่เหมาะสมสำหรับเตรียมเส้นใยโพลิอะคลิคโรไนไตร์ด ผสมสารสกัดจากเปลือกมังคุดจากกระบวนการปั่นเส้นใยด้วยไฟฟ้าสถิตโดยได้เส้นใยที่มีผิวเรียบ สม่ำเสมอ ปราศจากปุ่มปม คือใช้สารละลายโพลิอะคลิคโรไนไตร์ด ความเข้มข้น 10 % wt ผสมโดยสารสกัดจากเปลือกมังคุดจะถูกใส่ลงในสารละลายพอลิอะคริโลไนไตร์ (polyacrylonitrile) ในปริมาณ 10% 15% 20% และ 30% โดยน้ำหนักของพอลิอะคริโลไนไตร์ (polyacrylonitrile) ซึ่งเส้นใยที่ได้มีขนาด 0.242 0.12 ไมโครเมตร โดย นอกจากนี้ยังทำการศึกษาความเป็นไปได้ในการนำแผ่นเส้นใยโพลิอะคลิคโรไนไตร์ด ระดับนาโนเมตรที่มีสารสก้ดจากเปลือกมังคุดเป็นสารออกฤทธิ์ในการรักษาแผลมาใช้เป็นวัสดุขนส่งยา (Drug delivery carrier) จากนั้นเส้นใยโพลิอะคลิคโรไนไตร์ดจะถูกประเมินความเป็นไปได้ในการใช้เป็นวัสดุขนส่งยาซึ่งมีพอลิเมอร์เป็นระบบควบคุมการปลดปล่อยยา นอกจากนี้ยังมีการศึกษาความสามารถในการปลดปล่อยยาจากตัวเส้นใย โดยใช้วิธีจุ่มแช่ (total immersion) เมื่อทำการแช่เส้นใยดังกล่าวในสารละลาย acetate buffer และ phosphate buffer โดยมี pH 5.5 และ 7.4 ซึ่งใช้เป็นสารละลายจำลองใต้ผิวหนังมนุษย์ในการทดสอบการปลดปล่อยสารสกัดจากเปลือกมังคุดค่าความสามารถใน การศึกษาการปลดปล่อยกรดแกลลิคด้วยวิธี total immersion พบว่าแผ่นเส้นใยโพลิอะคลิคโรไนไตร์ด มีค่าการปลดปล่อยสารสกัดจากเปลือกมังคุด ที่ 10% 15% 20% และ 30% มีค่ามากขึ้นตามลำดับ และการศึกษาพบว่าเมื่อใส่สารสกัดจากเปลือกมังคุดในเส้นใยพอลิอะคริโลไนไตร์สามารถยับยั้งเชื้อวัณโรคได้ |
en_US |
dc.description.sponsorship |
สนับสนุนทุนวิจัยโดย ทุนอุดหนุนการวิจัยจากเงินอุดหนุนทั่วไปจากรัฐบาล ประจำปีงบประมาณ 2553 |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
การปั่นด้ายด้วยไฟฟ้าสถิต |
en_US |
dc.subject |
เส้นใยนาโน |
en_US |
dc.subject |
ระบบนำส่งยา |
en_US |
dc.subject |
มังคุด |
en_US |
dc.subject |
สารสกัดจากพืช |
en_US |
dc.title |
โครงการพัฒนาระบบนำส่งสารออกฤทธิ์สมุนไพรไทย ด้วยระบบเส้นใยอิเลคโตรสปัน : รายงานฉบับสมบูรณ์ |
en_US |
dc.type |
Technical Report |
en_US |
dc.email.author |
Pitt.S@Chula.ac.th |
|
dc.email.author |
Prasit.Pav@Chula.ac.th |
|
dc.email.author |
Duangdao.A@Chula.ac.th |
|
dc.email.author |
ไม่มีข้อมูล |
|
dc.email.author |
ไม่มีข้อมูล |
|
dc.email.author |
ไม่มีข้อมูล |
|