DSpace Repository

ปัญหาความไม่เสมอภาคในประชาธิปไตยแบบร่วมไตร่ตรอง

Show simple item record

dc.contributor.advisor ปิยฤดี ไชยพร
dc.contributor.author อรรคเดช แสงจันทร์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์
dc.date.accessioned 2018-09-14T05:08:03Z
dc.date.available 2018-09-14T05:08:03Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59558
dc.description วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560
dc.description.abstract วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาปัญหาในทฤษฎีประชาธิปไตยแบบร่วมไตร่ตรองในแง่ของความเสมอภาคเป็นสำคัญ โดยการศึกษาถึงข้อสนับสนุนและข้อโต้แย้งของกระบวนการร่วมไตร่ตรองที่อาจสร้างผลกระทบต่อสังคมประชาธิปไตย จากการศึกษาพบว่าความเชื่อที่ว่ากระบวนการร่วมไตร่ตรองนั้นเป็นกระบวนการที่เปิดโอกาสให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมทางการเมืองมากที่สุดนั้นเป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้อง กระบวนการร่วมไตร่ตรองเองมีกลไกบางประการในที่สร้างเงื่อนไขในการผูกขาดอำนาจซึ่งไม่เป็นผลดีต่อประชาธิปไตย มีข้อเสนอหนึ่งที่มองว่ากระบวนการร่วมไตร่ตรองเป็นกระบวนการที่สมควรหลีกเลี่ยงเพื่อรักษาความเป็นประชาธิปไตยในอุดมคติ หากแต่ผู้เขียนมีความเห็นว่ากระบวนการร่วมไตร่ตรองที่มีความพยายามในการสร้างกระบวนการที่ใช้เหตุผลในฐานของความเสมอภาคและเสรีภาพนั้นเป็นสิ่งที่สมควรแก่การรักษามากกว่าละทิ้งออกจากสังคม โดยแนวคิดรูปแบบการร่วมไตร่ตรองอ้างอิงถึงแนวคิดของ แอนโทนี่ ไซมอน ลาเดน
dc.description.abstractalternative This research aims to study problem of inequality in deliberative democracy in order to find a way that can resolve disagreements which also maintains the equality of democratic citizens. The study finds that deliberation itself has an inherent tendency to create the kind of authority that has capacity to dominate in the name of reason. This leads to suspicion that deliberation does not really work to support the democratic values. Some critics propose that democratic societies focus less on deliberation and resort to other means that better keep out the biases that breed inequality. In this research, I suggest that democratic societies keep deliberation but re-conceive it along the line of the ‘social picture of reasoning’ proposed by Anthony Laden.
dc.language.iso th
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
dc.relation.uri http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2017.1039
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
dc.subject ความเสมอภาค
dc.subject ประชาธิปไตย
dc.subject Equality
dc.subject Democracy
dc.title ปัญหาความไม่เสมอภาคในประชาธิปไตยแบบร่วมไตร่ตรอง
dc.title.alternative Problem of inequality in deliberative democracy
dc.type Thesis
dc.degree.name อักษรศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline ปรัชญา
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
dc.email.advisor khaning@hotmail.com,khaning@hotmail.com
dc.identifier.DOI 10.58837/CHULA.THE.2017.1039


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record