DSpace Repository

ผลของโปรแกรมการจัดการตนเองต่อภาวะน้ำลายแห้งในผู้สูงอายุมะเร็งศีรษะและลำคอที่ได้รับการฉายรังสี

Show simple item record

dc.contributor.advisor ทัศนา ชูวรรธนะปกรณ์
dc.contributor.author รุ่งนภา บุญมี
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์
dc.date.accessioned 2018-09-14T05:12:04Z
dc.date.available 2018-09-14T05:12:04Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59674
dc.description วิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560
dc.description.abstract การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลอง (Quasi-experimental research) แบบ Follow up study กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้สูงอายุมะเร็งศีรษะและลำคอที่ได้รับการฉายรังสี แผนกผู้ป่วยนอกรังสีรักษา โรงพยาบาลราชวิถี แบ่งเป็นกลุ่มควบคุมจำนวน 20 คน ได้รับการพยาบาลตามปกติ และกลุ่มทดลอง จำนวน 20 คน ได้รับโปรแกรมการจัดการตนเอง เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล และแบบประเมินภาวะน้ำลายแห้ง โดยมีค่าสัมประสิทธ์แอลฟ่าครอนบาคเท่ากับ 0.89 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติ Independent T-test และสถิติ Repeated measures ANOVA ผลการวิจัยพบว่า ค่าเฉลี่ยการรับรู้ความรุนแรงของภาวะน้ำลายแห้งโดยรวมรายข้อของกลุ่มควบคุมเท่ากับ 5.45 ค่าเฉลี่ยการรับรู้ความรุนแรงของภาวะน้ำลายแห้งโดยรวมรายข้อของกลุ่มทดลองเท่ากับ 1.03 และความรุนแรงของภาวะน้ำลายแห้งของผู้สูงอายุมะเร็งศีรษะและลำคอที่ได้รับการฉายรังสีกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการจัดการตนเองต่ำกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (p < .05)
dc.description.abstractalternative The present study was quasi-experimental research based on a follow up study. The sample was composed of older people with head and neck cancer receiving radiation in the Radiation Therapy Out-Patient Department, Rajavithi Hospital. The sample was divided into a control group composed of 20 subjects receiving routine care only and an experimental group composed of 20 subjects receiving the self-management program. Data was collected by using a questionnaire on personal information and a xerostomia rating scale. Reliability of xerostomia scale under Cronbach’s alpha coefficient was 0.89. Data was analyzed by using frequency, mean, standard deviation, independent t-test and repeated measures ANOVA. The effect of program showed that the total mean scale of xerostomia was 5.45 in the control group and 1.03 in the experimental group. The severity of xerostomia of the older people with head and neck cancer receiving radiation in the group receiving the self-management program was significantly lower than the group receiving routine care at .05 (p < .05).
dc.language.iso th
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
dc.relation.uri http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2017.1108
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
dc.subject คอ -- มะเร็ง
dc.subject ศีรษะ -- มะเร็ง
dc.subject Neck -- Cancer
dc.subject Head -- Cancer
dc.title ผลของโปรแกรมการจัดการตนเองต่อภาวะน้ำลายแห้งในผู้สูงอายุมะเร็งศีรษะและลำคอที่ได้รับการฉายรังสี
dc.title.alternative THE EFFECT OF SELF-MANAGEMENT PROGRAM ON XEROSTOMIA IN OLDER PERSONS WITH HEAD AND NECK CANCER RECEIVING RADIATION
dc.type Thesis
dc.degree.name พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline พยาบาลศาสตร์
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
dc.email.advisor Tassana.C@Chula.ac.th,tassana.c@chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.58837/CHULA.THE.2017.1108


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record