dc.contributor.advisor |
Naruemon Thabchumpon |
|
dc.contributor.advisor |
Michael George Hayes |
|
dc.contributor.author |
Jennifer Kay Moberg |
|
dc.contributor.other |
Chulalongkorn University. Faculty of Political Science |
|
dc.date.accessioned |
2018-09-14T05:21:31Z |
|
dc.date.available |
2018-09-14T05:21:31Z |
|
dc.date.issued |
2017 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59842 |
|
dc.description |
Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2017 |
|
dc.description.abstract |
ACCORDING TO THE 2016 UNHCR STATISTICS, THERE ARE OVER 14,000 REFUGEES TRAPPED IN INDEFINITE TRANSIT IN INDONESIA, WITH FAINT HOPE OF EVER BEING RESETTLED TO ANY THIRD COUNTRY. THE WEST JAVA TOWN OF CISARUA ALONE HOSTS NEARLY 5,000 REFUGEES FROM THE ETHNIC HAZARA MINORITY GROUP FROM AFGHANISTAN. IN THEIR INTRACTABLE LIMBO, A GROUP OF THESE HAZARAS HAVE SET UP A NUMBER OF REFUGEE RUN LEARNING CENTRES AND COMMUNITY INITIATIVES, CREATING FOR THEMSELVES MEANING AND PURPOSE DURING THEIR UNBOUNDED TRANSIT. THIS TOWN AND POPULATION REPRESENT A UNIQUE CASE STUDY IN REFUGEE RESILIENCE, TRANSFORMATION, AND EMPOWERMENT IN LIGHT OF A DEEPENING GLOBAL REFUGEE CRISIS. USING A CAPABILITIES FRAMEWORK AND SOCIAL CAPITAL THEORY, THIS THESIS EXAMINES THE EMERGENCE OF THESE REFUGEE RUN INSTITUTIONS, AND THE IMPACT THAT INVOLVEMENT WITH THESE INSTITUTIONS HAS ON REFUGEES IN PERPETUAL TRANSIT. THE RESEARCH EMPLOYS ETHNOGRAPHIC, QUALITATIVE METHODS IN ORDER TO SHARE THE STORIES AND EXPERIENCES OF SOME OF THE MOST VULNERABLE AND FORGOTTEN MEMBERS OF SOCIETY IN THEIR JOURNEY TO EMPOWERMENT. THE ANALYSIS OF THIS STUDY CONCLUDED THAT THE SOCIAL CAPITAL BUILT THROUGH INVOLVEMENT WITH REFUGEE RUN INITIATIVES IS THE CONVERSION FACTOR THAT CHANGES LIVES; COMMUNITY ITSELF IS THE TRANSFORMATIVE ELEMENT. THROUGH THIS TRANSFORMATION, REFUGEES HAVE CREATED FOR THEMSELVES MEANING AND PURPOSE DURING THEIR INDEFINITE TRANSIT, AND LAID PATHWAYS FOR A SUCCESSFUL FUTURE. |
|
dc.description.abstractalternative |
จากสถิติของ UNHCR เมื่อปี 2016 มีผู้อพยพมากกว่า 14,000 คนที่ติดค้างอยู่ในประเทศอินโดนิเซีย โดยเกือบจะไม่มีความหวังที่จะได้มีโอกาสจะได้ไปตั้งถิ่นฐานในประเทศที่สามต่อไป ในเมือง Cisarua ในชวาตะวันตกเพียงเมืองเดียว ต้องแบกรับผู้อพยพจากชนกลุ่มน้อย Hazara ของอัฟกานิสถาน ไว้เกือบ 5,000 คน แต่ในสถานการณ์ที่ดูเหมือนจะไม่มีทางออกนี้ พวกผู้อพยพกลุ่มนี้ได้จัดตั้งศูนย์การเรียนรู้และการสร้างสรรค์เพื่อส่วนรวมขึ้น เพื่อสร้างให้ชีวิตของพวกเขาระหว่างการรอคอยอย่างไร้จุดหมาย ให้มีคุณค่าและความหมายของชีวิตมากขึ้น ค่ายอพยพและผู้อพยพกลุ่มนี้เป็นตัวอย่างที่น่าสนใจ ที่แสดงให้เห็นถึงความอดทนและความมุ่งมั่นที่จะพัฒนาสังคมของพวกเขาในระหว่างสถานการณ์ของการลี้ภัย ซึ่งก็กำลังเกิดขึ้นในที่ต่างๆทั่วโลกด้วยเช่นเดียวกัน จากกรอบความสามารถและทุนทางสังคม วิทยานิพนธ์บทนี้แสดงให้เห็นถึงความจำเป็นอย่างเร่งด่วนในการจัดตั้งสถาบันเพื่อการศึกษาที่จัดการโดยกลุ่มผู้อพยพเอง ซึ่งจะเป็นการส่งผลดีต่อกลุ่มผู้อพยพที่กำลังไร้จุดหมาย บทวิจัยฉบับนี้นำเสนอความรู้ที่เกี่ยวกับการดำรงอยู่ของชาติพันธุ์และคุณภาพชีวิต เพื่อเล่าเรื่องและประสบการณ์ของกลุ่มคนในสังคมที่ดูเหมือนจะอ่อนแอและแทบจะถูกลืม แต่กลับไม่ยอมแพ้ต่อโชคชะตา การวิจัยนี้สรุปให้เห็นว่า ศูนย์กลางของสังคมผู้อพยพที่มีสถาบันการเรียนรู้ที่จัดการโดยกลุ่มผู้อพยพเองอยู่ด้วย จะสามารถพลิกชีวิตของผู้อพยพให้มีความหมายและมีจุดมุ่งหมายของชีวิตมากขึ้นในระหว่างการรอคอยอันยาวนาน และจะเป็นการวางเส้นทางให้กับอนาคตที่สดใสแก่กลุ่มผู้อพยพอีกด้วย |
|
dc.language.iso |
en |
|
dc.publisher |
Chulalongkorn University |
|
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2017.295 |
|
dc.rights |
Chulalongkorn University |
|
dc.subject |
Refugees, Afghan -- Indonesia |
|
dc.subject |
Self-reliance |
|
dc.subject |
ผู้ลี้ภัยชาวอัพกัน -- อินโดนีเซีย |
|
dc.subject |
การพึ่งตนเอง |
|
dc.title |
TREADING WATER: AN ETHNOGRAPHY OF THE PLIGHT AND CAPABILITIES OF AFGHAN REFUGEES IN INDONESIA |
|
dc.title.alternative |
ฟันฝ่าไปในสายน้ำ: การศึกษาเชิงชาติพันธุ์วรรณนาของสภาวะและขีดความสามารถของผู้ลี้ภัยชาวอัฟกานิสถานในอินโดนีเซีย |
|
dc.type |
Thesis |
|
dc.degree.name |
Master of Arts |
|
dc.degree.level |
Master's Degree |
|
dc.degree.discipline |
International Development Studies |
|
dc.degree.grantor |
Chulalongkorn University |
|
dc.email.advisor |
Naruemon.T@Chula.ac.th,naruemon.t@chula.ac.th |
|
dc.email.advisor |
mhayesbkk@gmail.com |
|
dc.identifier.DOI |
10.58837/CHULA.THE.2017.295 |
|