DSpace Repository

EFFECT OF DIFFERENT COOKING METHODS ON THE BIOACCESSIBILITY OF POLYPHENOLS AND ANTIOXIDANT CAPACITIES OF PAKWAN BAN (SAUROPUS ANDROGYNUS)

Show simple item record

dc.contributor.advisor Kittana Makynen
dc.contributor.author Imas Arumsari
dc.contributor.other Chulalongkorn University. Faculty of Allied Health Sciences
dc.date.accessioned 2018-09-14T06:06:26Z
dc.date.available 2018-09-14T06:06:26Z
dc.date.issued 2017
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/60079
dc.description Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2017
dc.description.abstract This study was aimed to assess the effect of different cooking methods on the amounts of phytochemical compounds and antioxidant capacities of sweet leaf (Sauropus androgynus) before and during in vitro simulated gastrointestinal digestion. The optimum cooking time of each cooking method was prior selected according to the total phenolic compounds, the ferric-reductase antioxidant power (FRAP) activity, the color characteristics, the hardness, and the texture preference of cooked sweet leaf samples. Consequently, the sweet leaf samples cooked by boiling for 5 mins or microwaving at 800 watts for 90 sec were compared with raw sweet leaf. The results showed that the microwave cooking significantly demonstrated the higher antioxidant capacities (both FRAP and DPPH radical scavenging activities) of sweet leaf samples than the raw and the boiling methods (P < 0.05). The boiling and microwave cooking methods significantly increased the bioaccessibility of phytochemicals: total phenolic compounds, total flavonoids, beta-carotene contents, and the antioxidant capacities (FRAP and DPPH assay) of sweet leaf than those found in the raw leaves (P < 0.05). Furthermore, the addition of 10% palm oil (v/w) during all cooking methods (raw, boiling, and microwave cooking) significantly increased the bioaccessibility of total phenolic compounds, beta-carotene content, and the antioxidant capacities (FRAP and DPPH assay) compared with those without palm oil addition, respectively (P < 0.05). In conclusion, microwaving and addition of palm oil during cooking exhibited the increased bioaccessibility of total phenolic compounds, beta-carotene content and antioxidant capacities than boiled and raw sweet leaf.
dc.description.abstractalternative การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของวิธีการปรุงอาหารในรูปแบบที่แตกต่างกันต่อปริมาณสารพฤกษเคมีและความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระของใบผักหวานบ้าน (Sauropus androgynus) ก่อนและหลังการย่อยในระบบทางเดินอาหารจำลองในหลอดทดลอง โดยระยะเวลาที่เหมาะสมในการปรุงอาหารแต่ละวิธี ถูกเลือกจากปริมาณสารฟีโนลิกทั้งหมด ความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระโดยการรีดิวซ์เฟอร์ริก (FRAP) คุณสมบัติด้านสี ความแข็ง และการยอมรับด้านเนื้อสัมผัสโดยรวมของใบผักหวานบ้านที่ผ่านการปรุงด้วยเวลาต่าง ๆ กัน ในที่สุดวิธีการปรุงผักหวานบ้านด้วยวิธีการต้ม นาน 5 นาที และวิธีปรุงโดยใช้เตาไมโครเวฟ ความแรงไฟ 800 วัตต์ นาน 90 วินาที ถูกเลือกนำมาเปรียบเทียบกับผักหวานบ้านดิบ ผลการทดลองพบว่า ผักหวานบ้านที่ปรุงด้วยวิธีไมโครเวฟแสดงความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระจากการทดสอบด้วยวิธี FRAP และวิธีทดสอบความสามารถต้านอนุมูลอิสระ DPPH มากกว่าที่พบในผักหวานบ้านที่ปรุงด้วยวิธีการต้มและผักหวานบ้านดิบอย่างมีนัยสำคัญ (P<0.05) โดยการปรุงอาหารด้วยวิธีการต้มและวิธีไมโครเวฟ ทำให้ปริมาณสารพฤกษเคมีพร้อมใช้ในการดูดซึมหลังการย่อย ได้แก่ สารฟีโนลิกทั้งหมด สารฟลาโวนอยด์ทั้งหมด และสารเบต้าแคโรทีน รวมถึงความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระจากการทดสอบด้วยวิธี FRAP และวิธี DPPH ของใบผักหวานบ้าน เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญมากกว่าที่พบในผักหวานบ้านดิบที่ไม่ผ่านการปรุง (P<0.05) นอกจากนี้ การเติมน้ำมันปาล์มปริมาณร้อยละ 10 (ปริมาตรต่อน้ำหนัก) ระหว่างการปรุงอาหาร ทั้งในผักหวานบ้านดิบ วิธีการต้ม และวิธีไมโครเวฟ ช่วยเพิ่มปริมาณสารฟีโนลิกทั้งหมด สารเบต้าแคโรทีน และความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระ (ทั้งวิธี FRAP และ วิธี DPPH) ที่พร้อมใช้หลังการย่อยในระบบทางเดินอาหารจำลองในหลอดทดลอง ได้อย่างมีนัยสำคัญเมื่อเทียบกับผักหวานบ้านที่ปรุงด้วยวิธีเดียวกันแต่ไม่ได้เติมน้ำมันปาล์ม (P<0.05) ผลการวิจัยนี้จึงอาจสรุปได้ว่า การปรุงผักหวานบ้านด้วยวิธีไมโครเวฟและการเติมน้ำมันปาล์มลงไประหว่างการปรุงอาหารช่วยเพิ่มปริมาณสารพฤกษเคมีพร้อมใช้สำหรับการดูดซึมหลังการย่อยและคงความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระของผักหวานบ้านได้ดีกว่าวิธีการต้มและการรับประทานผักหวานบ้านดิบ
dc.language.iso en
dc.publisher Chulalongkorn University
dc.relation.uri http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2017.254
dc.rights Chulalongkorn University
dc.title EFFECT OF DIFFERENT COOKING METHODS ON THE BIOACCESSIBILITY OF POLYPHENOLS AND ANTIOXIDANT CAPACITIES OF PAKWAN BAN (SAUROPUS ANDROGYNUS)
dc.title.alternative ผลของวิธีการปรุงอาหารในรูปแบบที่แตกต่างกัน ต่อปริมาณสารโพลีฟีนอลพร้อมใช้สำหรับการดูดซึมหลังการย่อยและความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระของผักหวานบ้าน (Sauropus androgynus)
dc.type Thesis
dc.degree.name Master of Science
dc.degree.level Master's Degree
dc.degree.discipline Food and Nutrition
dc.degree.grantor Chulalongkorn University
dc.email.advisor Kittana.M@Chula.ac.th,kittana.makynen@gmail.com,kittana.m@chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.58837/CHULA.THE.2017.254


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record