DSpace Repository

HANBAN CONFUCIUS CLASSROOMS AND THE LEARNING OF CHINESE LANGUAGE AND CULTURE IN THAI SCHOOLS

Show simple item record

dc.contributor.advisor Amara Prasithrathsint
dc.contributor.author Jiaqi Song
dc.contributor.other Chulalongkorn University. Graduate School
dc.date.accessioned 2018-09-14T06:15:16Z
dc.date.available 2018-09-14T06:15:16Z
dc.date.issued 2017
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/60287
dc.description Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2017
dc.description.abstract Confucius Classroom is an educational institute established in primary and secondary schools in various countries including Thailand to spread Chinese culture and language. At present, research on Confucius Classrooms in Thailand is little, so this study attempts to examine the approaches used by Confucius Classrooms in teaching Chinese language and spreading Chinese culture in Thai schools and to what extent they contribute to mutual understanding between Chinese and Thai teachers. Data collection was done at Confucius Classrooms in four sample schools by in-depth interviews, questionnaires and tests. The respondents included the Chinese heads of Confucius Classrooms, Thai teachers and leaders, Chinese volunteer teachers and Thai students. The findings show that Chinese volunteer teachers use various methods in Confucius Classrooms: five-step method, audio-visual method, classroom activities, playing games, grammar-based method, task-based method and audiolingual method. Some obstacles of using those methods are, for example, improper textbooks, unqualified Chinese volunteer teachers, unreasonable curricula, being too young to learn. It is found that the teaching approaches are more successful in secondary schools than primary schools. To spread Chinese culture, Confucius Classrooms organize many cultural activities, competitions, HSK tests, and other projects. Many students like to take part in the activities but not all of them get good scores in culture tests because not all the activities are effective and meaningful. In terms of cultural exchange and mutual understanding, Thai teachers and Chinese volunteer teachers can exchange teaching experience, and learn from each other. Chinese volunteer teachers have improved their Thai language and understood Thai culture better. On the other hand, Thai teachers and students also have chance to improve their Chinese and gain more knowledge of China.
dc.description.abstractalternative ห้องเรียนขงจื่อเป็นสถาบันที่จัดตั้งในส่วนของการศึกษาระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาในหลายประเทศทั่วโลกทำหน้าที่เผยแพร่ภาษาและวัฒนธรรมจีน ซึ่งในปัจจุบัน การศึกษาวิจัยเกี่ยวกับห้องเรียนขงจื่อในประเทศไทยมีจำนวนน้อย ดังนั้น งานวิจัยนี้ จึงมุ่งศึกษาแนวการสอนและเผยแพร่ภาษาและวัฒนธรรมจีนของห้องเรียนขงจื่อในโรงเรียนไทย รวมถึงการมีส่วนในการเพิ่มระดับความเข้าใจระหว่างครูอาสาสมัครชาวจีนและครูไทยว่ามีมากน้อยเท่าใด ผู้วิจัยเก็บข้อมูลจากโรงเรียนที่มีห้องเรียนขงจื่อ 4 แห่ง ซึ่งเป็นตัวแทนของห้องเรียนขงจื่อทั้งหมดสิบเอ็ดแห่งในประเทศไทย โดยใช้การสัมภาษณ์ในเชิงลึก แบบสอบถาม และแบบทดสอบ กับผู้ห้องเรียนขงจื่อ ซึ่งได้แก่ หัวหน้าครูไทย ครูไทย ครูอาสาสมัครชาวจีน และนักเรียนไทย ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าครูอาสาสมัครชาวจีนใช้วิธีหลายวิธีในการสอน ภาษาจีนแก่นักเรียนไทย ได้แก่ วิธีห้าชั้นตอน การดูและการฟัง การจัดกิจกรรม การเล่นเกม การเน้นไวยากรณ์ การทำโครงงาน และ วิธีฟังและพูด อุปสรรคที่พบจากการใช้วิธีดังกล่าว มีตัวอย่างเช่น หนังสือเรียนไม่เหมาะสม ครูอาสาสมัครชาวจีนบางคนไม่สันทัด หลักสูตรไม่เหมาะสม และ นักเรียนอายุน้อยเกินไป จากการศึกษาพบว่า การเรียนภาษาและวัฒนธรรมจีนของห้องเรียนขงจื่อ ประสบความสำเร็จในระดับมัธยมศึกษามากกว่าระดัประถมศึกษา เพื่อให้เรียนวัฒนธรรมจีนได้ดีขึ้น ห้องเรียนขงจื่อจัดกิจกรรมต่างๆ จัดการแข่งขัน การสอบวัดระดับภาษาจีน‘HSK’ และโครงการอื่นๆ นักเรียนจำนวนมากชอบเข้าร่วมกิจกรรมของห้องเรียนขงจื่อ แต บางคนได้คะแนนในการทดสอบวัฒนธรรมจีนไม่ดีนัก เนื่องจากกิจกรรมบางกิจกรรมไม่มีประสิทธิภาพ และไร้ความหมาย ในส่วนของการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมและความเข้าใจระหว่างสองประเทศ พบว่าครูไทยและครูอาสาสมัครชาวจีนสามารถแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์การสอนซึ่งกันและกัน ซึ่งครูจีนสามารถเข้าใจภาษาไทยและวัฒนธรรมไทยได้ดียิ่งขึ้น ในอีกด้านหนึ่ง ครูไทยหรือนักเรียนไทยก็มีโอกาสพัฒนาภาษาจีนและได้ความรู้เกี่ยวกับประเทศจีนมากยิ่งขึ้นเช่นกัน
dc.language.iso en
dc.publisher Chulalongkorn University
dc.relation.uri http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2017.525
dc.rights Chulalongkorn University
dc.title HANBAN CONFUCIUS CLASSROOMS AND THE LEARNING OF CHINESE LANGUAGE AND CULTURE IN THAI SCHOOLS
dc.title.alternative ห้องเรียนขงจื่อแห่งสถาบันฮั่นปั้นกับการเรียนภาษาและวัฒนธรรมจีนในโรงเรียนไทย
dc.type Thesis
dc.degree.name Master of Arts
dc.degree.level Master's Degree
dc.degree.discipline Southeast Asian Studies
dc.degree.grantor Chulalongkorn University
dc.email.advisor Amara.Pr@Chula.ac.th,prasithrathsintamara@gmail.com
dc.identifier.DOI 10.58837/CHULA.THE.2017.525


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record