dc.contributor.author |
วิมลรัตน์ ตระการพฤกษ์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2018-10-01T04:25:25Z |
|
dc.date.available |
2018-10-01T04:25:25Z |
|
dc.date.issued |
2553 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/60350 |
|
dc.description.abstract |
ในงานวิจัยนี้ ได้สังเคราะห์ตัวเร่งปฏิกิริยาระบบวิวิธพันธุ์โลหะออกไซค์จากการเผาสารประเภทเลเยอร์ดับเบิลไฮดรอกไซด์ (LDHs) ซึ่งเป็นสารพรีเคอเซอร์ที่มีโลหะไอออน (II) เป็น Co, Ni และโลหะไอออน (III) เป็น AI, Cr ตรวจพิสูจน์โครงสร้างด้วยเทคนิคการเลี้ยวเบนรังสีเอ๊กซ์แบบผง (XRD) การวัดพื้นที่ผิว BET และอินฟราเรดสเปกโทรสโคปี ทำการทดสอบประสิทธิภาพการเร่งปฏิกิริยาออกซิเดชันของเอทิลเบนซีนในวัฎภาคของเหลวโดยใช้สารออกซิไดซ์เป็นเทอร์เชียรีบิวทิลไฮโดรเปอร์ออกไซด์ (TBHP) และไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ (H₂O₂) โดยปราศจากการใช้ตัวทำละลาย ผลการทดลองแสดงว่า โลหะออกไซด์เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาที่ดีสำหรับออกซิเดชันของเอทิลเบนซีนไปเป็นแอซิโทฟีโนน ลำดับประสิทธิภาพของตัวเร่งปฏิกิริยาโลหะออกไซด์ คือ Ni₅.₁Cr-oxide > Ni₄.₈AIoxide > Co₄.₅AI-oxide > Co₄.₈Cr-oxide > Ni₃.₁AI-oxide ~ Co₃.₃Al-oxide ขณะที่ลำดับของความเลือกจำเพาะต่อแอซิโทฟีโนน คือ Ni₄.₈AI-oxide, NNi₃.₁AI-oxide > Co₄.₅AI-oxide, C0₃.₃AI-oxide > Co₄.₈Cr-oxide > Ni₅.₁Cr-oxide ภายใต้ภาวะปฏิกิริยา; ตัวเร่งปฏิกิริยา 0.2 กรัม สัดส่วนโดยโมลของ TBHP ต่อเอทิลเบนซินเท่ากับ 4 อุณหภูมิ 110 °ซ และเวลาในการทำปฏิกิริยา 9 ชั่วโมง Ni₄.₈AI-oxide ให้คอนเวอร์ชัน 98% และความเลือกจำเพาะต่อแอซิโทฟีโนน 98% TBHP เป็นสารออกซิไดซ์ที่ดีกว่า H₂O₂ ตัวเร่งปฏิกิริยาโลหะออกไซด์ทั้งหมดมีความเสถียร และนำมาใช้ใหม่ได้ |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
In this research, heterogeneous catalysts, metal oxides were synthesized from calcination of their layered double hydroxides (LDHs) precursors with M (II) = Co, Ni and M(IIl) = AI, Cr. Structural characterization was done with powder X-ray diffraction (XRD), BET surface area measurement and FT-IR spectroscopy. The catalytic activity of catalysts was conducted in liquid phase oxidation of ethylbenzene with tert-butyl hydroperoxide (TBHP) and H₂0₂ as oxidant in the absence of solvent. The results show'ed that the metal oxides are active catalyst for the oxidation of ethylbenzene to acetophenone. The catalytic activity order of the metal oxides is: Ni₅.₁Cr-oxide > Ni₄.₈AIoxide > Co₄.₅AI-oxide > Co₄.₈Cr-oxide > Ni₃.₁AI-oxide ~ Co₃.₃Al-oxide whereas the selectivity order is: Ni₄.₈AI-oxide, NNi₃.₁AI-oxide > Co₄.₅AI-oxide, C0₃.₃AI-oxide > Co₄.₈Cr-oxide > Ni₅.₁Cr-oxide. Under the reaction condition of 0.2 g catalyst, TBHP/ethylbenzene molar ratio = 4, temperature at 110°C and reaction time 9 h, the Ni₄.₈AI-oxide yielded 98 % conversion and 98 % selectivity to acetophenone. TBHP was a better oxidant than H₂0₂. All metal oxides catalysts are stable and reusable. |
en_US |
dc.description.sponsorship |
ทุนอุดหนุนการวิจัยงบประมาณแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ 2553 |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
ตัวเร่งปฏิกิริยา |
en_US |
dc.subject |
อะซิโตฟีโนน |
en_US |
dc.subject |
Catalysts |
en_US |
dc.subject |
Acetophenone |
en_US |
dc.title |
ตัวเร่งปฏิกิริยาสำหรับการผลิตแอซิโทฟีโนนโดยปราศจากการใช้ตัวทำละลาย : รายงานการวิจัย |
en_US |
dc.title.alternative |
Catalysts for acetophenone production without use of solvent |
en_US |
dc.type |
Technical Report |
en_US |
dc.email.author |
ไม่มีข้อมูล |
|