dc.contributor.advisor |
Wanida Laiwattanapaisal |
|
dc.contributor.advisor |
Adisorn Tuantranont |
|
dc.contributor.author |
Yuwadee Boonyasit |
|
dc.contributor.other |
Chulalongkorn University. Faculty of Allied health Sciences |
|
dc.date.accessioned |
2018-11-01T09:26:03Z |
|
dc.date.available |
2018-11-01T09:26:03Z |
|
dc.date.issued |
2010 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/60529 |
|
dc.description |
Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2010 |
en_US |
dc.description.abstract |
The ability for low reagent consumption and minimum waste production in a miniaturised system has generated great interest in the green chemistry field. Herein, a microfluidic system for calcium assays using the arsenazo III method has been developed. Using this approach, our proposed design, four sets of 10-piece J-shaped baffles within the microchannel, can strongly encourage chaotic flow of two different fluids. A homogeneous mixing (~ 90% homogeneity) was attained in a short time and within a limited length. The reaction between arsenazo III and calcium to form a blue-purple coloured complex was measured by an embedded miniature fibre optic spectrometer through absorbance increments at 650 nm. A linear range was obtained from 0.2 to 3 mg dL-1 with a detection limit of 0.138 mg dL-1 (S/N=3). The method exhibited good reproducibility based on low and high calcium tests with control serums, the within-run coefficient of variation (CVs) (4.10% and 3.91%), and the run-to-run CV (4.6%) were obtained. The carry-over effect of the method was 1.98%, which is acceptable for the current system. When compared to a conventional spectrophotometric method, this portable, microfluidic method correlated highly when evaluating serum samples (r2 = 0.985; n= 15). This apparent similarity suggests that our proposed system could be used for determining the amount of calcium in serum samples. |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
การใช้สารเคมีที่น้อยลงและลดการผลิตของเสียในระบบจุลภาคเป็นหนึ่งในแนวทางของเคมีสีเขียว จึงได้เกิดแนวคิดในการพัฒนาระบบของไหลจุลภาคสำหรับการตรวจวัดแคลเซียมโดยใช้หลักการ Arsenazo III ขึ้น ด้วยวิธีการนี้ ได้มีการออกแบบสิ่งกีดขวางรูปตัวเจจำนวน 4 ชุด ชุดละ 10 ชิ้น ภายในท่อขนาดเล็กเพื่อช่วยในการผสมกันของสาร ซึ่งพบว่ามีประสิทธิภาพการผสมของสารประมาณ 90 เปอร์เซ็นต์ และเมื่อนำมาตรวจวัดหาปริมาณแคลเซียม ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นนี้สามารถวัดด้วยไฟเบอร์ออฟติกสเปคโตรมิเตอร์ที่ความยาวคลื่น 650 นาโนเมตรได้โดยตรง โดยระบบที่พัฒนานี้สามารถทำการตรวจวัดปริมาณแคลเซียมได้ในช่วงความเป็นเส้นตรง 0.2 - 3 mg dL-1 ค่าต่ำสุดที่สามารถวัดได้คือ 0.138 mg dL-1 วิธีที่พัฒนาขึ้นนี้มีความแม่นยำในการวิเคราะห์ปริมาณแคลเซียมสูง เมื่อทำการวิเคราะห์ปริมาณแคลเซียมระดับต่ำและสูง (within-run CV = 4.10% และ 3.91% ตามลำดับ, run-to-run CV = 4.6%) ผลกระทบจากการ carry-over ของสารมีค่าเท่ากับ 1.98% ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ที่สามารถยอมรับได้ ผลการตรวจวัดปริมาณแคลเซียมในเลือดด้วยระบบที่พัฒนาขึ้น เทียบกับวิธีวิเคราะห์อัตโนมัติที่ใช้ในห้องปฏิบัติการทั่วไป ที่ใช้หลักการสเปคโตรโฟโตมิทรี พบว่ามีความสัมพันธ์ที่ดีสอดคล้องกัน (r2 = 0.985; n= 15) ผลงานวิจัยแสดงให้เห็นว่าระบบของไหลจุลภาคที่พัฒนาขึ้นนี้ สามารถวิเคราะห์หาปริมาณแคลเซียมในเลือดได้และสามารถลดปริมาณการใช้สารเคมีลงได้อย่างมาก |
en_US |
dc.language.iso |
en |
en_US |
dc.publisher |
Chulalongkorn University |
en_US |
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.14457/CU.the.2010.710 |
|
dc.rights |
Chulalongkorn University |
en_US |
dc.subject |
Calcium in the body |
en_US |
dc.subject |
Human body -- Calcium content |
en_US |
dc.subject |
Body fluids |
en_US |
dc.subject |
แคลเซียมในร่างกาย |
en_US |
dc.subject |
ร่างกาย -- ปริมาณแคลเซียม |
en_US |
dc.subject |
สารน้ำในร่างกาย |
en_US |
dc.title |
Portable microfluidic system for determination of calcium based on arsenazo III method |
en_US |
dc.title.alternative |
ระบบของไหลจุลภาคแบบพกพา สำหรับตรวจวัดปริมาณแคลเซียมด้วยหลักการ Arsenazo III |
en_US |
dc.type |
Thesis |
en_US |
dc.degree.name |
Master of Science |
en_US |
dc.degree.level |
Master's Degree |
en_US |
dc.degree.discipline |
Clinical Biochemistry and Molecular Medicine |
en_US |
dc.degree.grantor |
Chulalongkorn University |
en_US |
dc.email.advisor |
Wanida.k@chula.ac.th |
|
dc.email.advisor |
No information provided |
|
dc.identifier.DOI |
10.14457/CU.the.2010.710 |
|