dc.contributor.author |
จามรี อาระยานิมิตสกุล |
|
dc.contributor.author |
พีรศรี โพวาทอง |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ |
|
dc.coverage.spatial |
ไทย |
|
dc.coverage.spatial |
ชลบุรี |
|
dc.date.accessioned |
2018-11-07T08:33:57Z |
|
dc.date.available |
2018-11-07T08:33:57Z |
|
dc.date.issued |
2551 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/60558 |
|
dc.description.abstract |
โครงการวิจัย อัษฎางคะวัน : ส่วนหนึ่งในประวัติภุมิสถาปัตยกรรมไทย เป็นการศึกษาเรื่องราวและพื้นที่อัษฎางคะวัน อันเป็นพื้นที่สวนขนาดใหญ่ประมาณ 800 ไร่ ที่สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 พร้อมกับการสร้างพระจุฑาธุชราชฐาน เกาะสีชัง จังหวัดชลบุรี เพื่อให้เป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจอันร่มรื่น จากการศึกษา ค้นคว้ารวบรวมข้อมูลจากเอกสารประวัติศาสตร์พบว่าส่วนประกอบของอัษฎางคะวันสามารถแบ่งได้เป็น 1) สภาพภูมิ-ประเทศธรรมชาติ 2) อาคารและสิ่งก่อสร้าง และ 3) สวนและพรรณไม้ ซึ่งรัชกาลที่ 5 ได้โปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อเรียกสิ่งต่าง ๆ ไว้เพื่อให้เป็นที่จดจำ หากแต่มีช่วงเวลาที่อัษฎางคะวันได้ถูกทิ้งร้างและมีการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินและกรรมสิทธิ์ที่ดินไปเป็นชุมชนเมือง จากการสำรวจภาคสนามในบริเวณที่เคยเป็นอัษฎางคะวันพบว่า ภาพรวมของอัษฎางคะวันในลักษณะสวนอันร่มรื่นสำหรับพักผ่อนหย่อนใจได้สูญหายไป ต้นไม้ อาคาร และสิ่งก่อสร้างเดิม ส่วนใหญ่ได้เสื่อมสภาพลง หรือถูกรื้อทำลายไป คงเลหือเพียงชื่อเรียก และส่วนประกอบที่เป็นสภาพภูมิประเทศธรรมชาติ เช่น ยอดเขา ผา ถ้ำ ฯลฯ ที่ยังอยู่ จึงมีความจำเป็นที่จะต้องหาแนวทางในการอนุรักษ์และฟื้นฟูที่ยังคงอยู่และเรื่องราวของอัษฎางคะวัน เพื่อไม่ให้สูญหายไป โดยมีการเสนอแนะแนวทางการฟื้นฟูอนุรักษ์เบื้องต้น เช่น การสำรวจขุดค้นทางโบราณคดี การประชาสัมพันธ์เผยแพร่เรื่องราวของอัษฎางคะวัน การฟื้นฟูบริเวณที่มีความสำคัญในอดีต การแนะนำเส้นทางท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมเป็นต้น |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
Asdangkawan. History of Thai Landscape Architecture analyzes the history and the physical remains of Asdangkawan, an approximately 1,000-rai (160 ha) park created during the reign of King Rama V, on Sichang Island, Chonburi Province. Constructed in conjunction with the establishment of the Chudadhuj royal palace on the island, Asdangkawan was intended to be a recreational park for visitors and locals alike. Construction took place over the course of a few months in 1891, leading to the formal opening of the park in August of that year. Archival research and site visits reveal that there are three components in Asdangkawan : natural features; buildings and structures; and gardens and plants. Place names were given by King Rama V after the names and titles of royal family members and the noblemen who were at Sichang at that time. After the Franco-Siamese crisis of 1893, construction of Asdangkawan suddenly stopped. Without much physical structure to begin with, the remains of Asdangkawan quickly disappeared, accelerated greatly by later urbanization. After a thorough documentation of physical traces of Asdangkawan, the research proposes various strategies for further study and conservation of this important evidence of Thai landscape architecture. |
en_US |
dc.description.sponsorship |
ได้รับทุนวิจัยเฉลิมฉลองสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
ภูมิสถาปัตยกรรม -- ไทย |
en_US |
dc.subject |
สถานพักผ่อนหย่อนใจ -- ภูมิสถาปัตยกรรม |
en_US |
dc.subject |
สวนสาธารณะ -- ภูมิสถาปัตยกรรม |
en_US |
dc.subject |
อัษฎางคะวัน (ชลบุรี) -- ภูมิสถาปัตยกรรม |
en_US |
dc.subject |
Landscape architecture -- Thailand |
en_US |
dc.subject |
Recreation areas -- Landscape architecture |
en_US |
dc.subject |
Parks -- Landscape architecture |
en_US |
dc.subject |
Asdangkawan (Chonburi, Thailand) -- Landscape architecture |
en_US |
dc.title |
อัษฎางคะวัน : ส่วนหนึ่งในประวัติภูมิสถาปัตยกรรมไทย : รายงานผลการวิจัย |
en_US |
dc.title.alternative |
Asdangkawan : History of Thai landscape architecture |
en_US |
dc.type |
Technical Report |
en_US |
dc.email.author |
ไม่มีข้อมูล |
|
dc.email.author |
Pirasri.P@Chula.ac.th |
|