DSpace Repository

Integrated Communicative Health Literary(ICHL) among Thai type 2 diabetic patients in SamutSongkram Province Thailand: a case study of CHL towarddiabetes type outcome

Show simple item record

dc.contributor.advisor Ratana Somrongthong
dc.contributor.advisor Chulanee Thianthai
dc.contributor.author Kantapong Prabsangob
dc.contributor.other Chulalongkorn University. College of Public Health Sciences
dc.date.accessioned 2018-12-01T08:36:03Z
dc.date.available 2018-12-01T08:36:03Z
dc.date.issued 2017
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/60630
dc.description Thesis (Ph.D.)--Chulalongkorn University, 2017
dc.description.abstract This multi –phasing study aimed to develop and evaluate an integrated communicative health literacy program (ICHL Program) for type 2 diabetic patients in Bangkonthee district, Samut Songkram province, Thailand.  The study divided into four phases. Phase 1-2 : Cross sectional study was conducted using quantitative (n =415) and qualitative study (n =14) which aimed to assess the level of health literacy of the DM patients aged 50-80 years old and  describing providers’ and patients’ perception towards promoting health literacy. Phase 3: Developing and implementing ICHL (based on  the findings of   cross-sectional study). Phase 4: Evaluating the effect of the ICHL.  The cross-sectional study shown that the participants has moderate level of health literacy.  The quasi experimental study was employed to evaluate the effect of the ICHL. 70 diabetes patients aged between 50 and 80 years, living in a rural Thai community was purposively selected and divided into two groups of 35 patients. Then, they were selected to be an intervention groups receiving the ICHL program and a control group receiving a regular health literacy promotion program. A questionnaire was used to assess socio-demographic characteristics, and self-care behavior. The 3-level Health Literacy Scale developed by Ishikawa was used to assess health literacy level. Patients’ blood sugars (HbA1c) were retrieved from hospital patient health records. The measurements of dependent variables were conducted three times: at baseline, after the intervention (three months), and during six months follow up. Descriptive statistic, Chi square, t-test, and repeated-measure ANOVA were used for data analysis. The finding showed the significant improvement in health literacy, self-care behavior, and HbA1c after 3 month participation in the program ( p-value <0.05), but not sustainable through 6 month participation. It was concluded that the Integrated Communicative Health Literacy program could enable diabetic patients to control their blood sugar, increase health literacy and enhance their self-care behavior to control their blood sugar.
dc.description.abstractalternative การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนา และประเมินโปรแกรมความแตกฉานด้านสุขภาพเชิงบูรณาการของการสื่อสาร (โปรแกรมไอซีเอชเอล) ในผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ไม่พึ่งอินซูลิน  อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม ประเทศไทย การศึกษาวิจัย แบ่งเป็น 4  ระยะ  ระยะ ที่ 1-2 เป็นการศึกษาภาคตัดขวางเชิงปริมาณ  (n =415) เพื่อประเมินความแตกฉานด้านสุขภาพของผู้ป่วยเบาหวานที่มีอายุ 50- 80 ปี   และการวิจัยเชิงคุณภาพ (n =14) เพื่อบรรยายการรับรู้ เรื่องการส่งเสริมความแตกฉานด้านสุขภาพของผู้ป่วยเบาหวานที่มีอายุ 50- 80 ปี  และผู้ให้บริการ ระยะที่ 3 เป็นการพัฒนา และดำเนินกิจกรรมแทรกแซงโปรแกรมความแตกฉานด้านสุขภาพเชิงบูรณาการของการสื่อสาร และระยะที่  4 ประเมินผลของโปรแกรม ผลการศึกษาภาคตัดขวาง พบว่า ผู้ป่วยโรคเบาหวาน มีความแตกฉานด้านสุขภาพอยู่ในระดับปานกลาง  สำหรับ ประเมินผลของโปรแกรม เป็นการศึกษากึ่งทดลอง โดยกลุ่มตัวอย่าง ใน 2 พื้นที่ ได้คัดเลือกแบบเจาะจง จำนวน 70 คน โดยแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 35 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมไอซีเอชเอล กลุ่มควบคุมได้รับโปรแกรมการการส่งเสิมความแตกฉานด้านสุขภาพทั่วไป แบบสอบถามถูกใช้เพื่อประเมินลักษณะทางประชากรศาตร์และ พฤติกรรมการดูแลตนเอง แบบประเมินความแตกฉานด้านสุขภาพ 3 ระดับ ออกแบบโดย อิซิกาว่า ถูกใช้เพื่อประเมินระดับความแตกฉานด้านสุขภาพ ข้อมูลเกี่ยวกับระดับน้ำตาลสะสมในเลือดนำมาจากข้อมูลผู้ป่วยของโรงพยาบาล การวัดข้อมูลทำจำนวน 3 ครั้ง ได้แก่ ก่อนการใช้โปรแกรม หลังการใช้โปรแกรม 3 เดือน และ หลังการใช้โปรแกรม 6 เดือนข้อมูลถูกวิเคราะห์โดยการใช้ สถิติเชิงพรรณา ไซสแคว์ ทีเทส และ repeated ANOVA การค้นพบแสดงให้เห็นว่า ความแตกฉานด้านสุขภาพ พฤติกรรมการดูแลตนเอง และระดับน้ำตาลสะสมในเลือด ของผู้ป่วยที่เข้าร่วมโปรแกรมดีขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ (p value< 0.05)  หากแต่ไม่ยั่งยืนถึง 6 เดือน สรุปการศึกษาได้ว่า โปรแกรมความแตกฉานด้านสุขภาพเชิงบูณราการของการสื่อสาร สามารถช่วยทำให้ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด เพิ่มความแตกฉานด้านสุขภาพ และ ส่งเสริมการดูแลตนเองเพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด
dc.language.iso en
dc.publisher Chulalongkorn University
dc.relation.uri http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2017.478
dc.rights Chulalongkorn University
dc.subject Health risk communication
dc.subject Diabetes
dc.subject การสื่อสารความเสี่ยงด้านสุขภาพ
dc.subject เบาหวาน
dc.subject.classification Social Sciences
dc.title Integrated Communicative Health Literary(ICHL) among Thai type 2 diabetic patients in SamutSongkram Province Thailand: a case study of CHL towarddiabetes type outcome
dc.title.alternative ความแตกฉานด้านสุขภาพเชิงบูรณาการของการสื่อสารในหมู่ผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่2 ที่จังหวัดสมุทรสงครามประเทศไทย: กรณีศึกษาเกี่ยวกับความแตกฉานด้านสุขภาพในการสื่อสารกับผลของโรคเบาหวานชนิดที่ 2
dc.type Thesis
dc.degree.name Doctor of Philosophy
dc.degree.level Doctoral Degree
dc.degree.discipline Public Health
dc.degree.grantor Chulalongkorn University
dc.email.advisor Ratana.So@Chula.ac.th
dc.email.advisor Chulanee.T@Chula.ac.th
dc.subject.keyword HEALTH LITERACY
dc.identifier.DOI 10.58837/CHULA.THE.2017.478


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record