dc.contributor.advisor |
อภิชญา ไชยวุฒิกรณ์วานิช |
|
dc.contributor.advisor |
คัคนางค์ มณีศรี |
|
dc.contributor.author |
มัลลิกา อุกฤษฏ์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา |
|
dc.date.accessioned |
2019-02-26T09:59:37Z |
|
dc.date.available |
2019-02-26T09:59:37Z |
|
dc.date.issued |
2561 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/61247 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2561 |
|
dc.description.abstract |
งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อตรวจสอบอิทธิพลของอัตลักษณ์ทางเฟมินิสต์เชิงบวก ที่มีต่อการถูกกระทำรุนแรงในคู่รัก โดยมีการเห็นคุณค่าในตนเองและอำนาจในความสัมพันธ์ เป็นตัวแปรส่งผ่าน กลุ่มตัวอย่างคือผู้หญิงวัยทำงานที่มีคนรักหรือเคยมีคนรักในอดีตจำนวน 311 คน อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานคร อายุระหว่าง 30-60 ปี โดยให้ผู้ร่วมวิจัยตอบแบบสอบถามเกี่ยวกับการเห็นคุณค่าในตนเอง อำนาจในความสัมพันธ์ อัตลักษณ์ทางเฟมินิสต์เชิงบวก และการถูกกระทำรุนแรงจากคู่รัก
ผลการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง พบว่า อัตลักษณ์ทางเฟมินิสต์เชิงบวกมีอิทธิพลทางตรงและทางอ้อมต่อการถูกกระทำรุนแรงจากคนรักผ่านการเห็นคุณค่าในตนเองและอำนาจในความสัมพันธ์ โดยผู้หญิงถูกกระทำรุนแรงทางจิตใจสูงกว่าความรุนแรงรูปแบบอื่น |
|
dc.description.abstractalternative |
This research examined the effect of positive feminist identity on intimate partner violence victimization and the mediating role of self-esteem and relationship power. A sample of 311 heterosexual career women, aged 30-60, and living in Bangkok completed the questionnaires measuring self-esteem, relationship power, positive feminist identity, and intimate partner violence victimization.
The structural equation modeling analysis revealed that positive feminist identity affected intimate partner violence victimization directly and indirectly through self-esteem and relationship power. Female victims reported higher psychological abuse score than any other forms of violence. |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
|
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2018.754 |
|
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
|
dc.subject |
สตรีนิยม |
|
dc.subject |
สตรีนิยม |
|
dc.subject |
ความรุนแรงต่อสตรี |
|
dc.subject |
ความนับถือตนเอง |
|
dc.subject |
อำนาจ (สังคมศาสตร์) |
|
dc.subject |
Feminism |
|
dc.subject |
Women -- Violence against |
|
dc.subject |
Self-esteem |
|
dc.subject |
Power (Social sciences) |
|
dc.subject.classification |
Psychology |
|
dc.title |
ความสัมพันธ์ระหว่างอัตลักษณ์ทางเฟมินิสต์เชิงบวกและการถูกกระทำรุนแรงในคู่รัก: อิทธิพลส่งผ่านของการเห็นคุณค่าในตนเองและอำนาจในความสัมพันธ์ |
|
dc.title.alternative |
The relationship between positive feminist identity and intimate partner violence victimization : the mediating effect of self-esteem and relationship power |
|
dc.type |
Thesis |
|
dc.degree.name |
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
จิตวิทยา |
|
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
|
dc.email.advisor |
Apitchaya.C@Chula.ac.th |
|
dc.email.advisor |
Kakanang.M@Chula.ac.th |
|
dc.subject.keyword |
อัตลักษณ์ทางเฟมินิสต์เชิงบวก |
|
dc.subject.keyword |
การถูกกระทำรุนแรงในคู่รัก |
|
dc.subject.keyword |
การเห็นคุณค่าในตนเอง |
|
dc.subject.keyword |
อำนาจในความสัมพันธ์ |
|
dc.subject.keyword |
positive feminist identity |
|
dc.subject.keyword |
intimate partner violence victimization |
|
dc.subject.keyword |
self-esteem |
|
dc.subject.keyword |
relationship power |
|
dc.identifier.DOI |
10.58837/CHULA.THE.2018.754 |
|