dc.contributor.advisor |
Dinar Boontharm |
|
dc.contributor.advisor |
Julispong Chularatana |
|
dc.contributor.author |
Muhammad Faizal Abdul Rani |
|
dc.contributor.other |
Chulalongkorn University. Faculty of Arts |
|
dc.date.accessioned |
2019-02-26T13:20:44Z |
|
dc.date.available |
2019-02-26T13:20:44Z |
|
dc.date.issued |
2018 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/61261 |
|
dc.description |
Thesis (Ph.D.)--Chulalongkorn University, 2018 |
|
dc.description.abstract |
This dissertation will observe and evaluate how the Northern region of Thailand had applied various cultural elements and beliefs in creating a “Sense of Lanna” to attract visitors. How these cultural elements had been applied by the various parties will demonstrate the manner of their commercialization - whether in a positive or negative way. The scope of this research is focused on seven 5-star hotels in Chiang Mai and Chiang Rai. This area was chosen because Chiang Mai is the most award-winning province in Thailand when it comes to tourism especially. This is in addition to the area having many significant cultural attractions in Thailand. This research has two main components in methodology namely: qualitative and quantitative. For the first part of qualitative, observations were done at those seven 5-star hotels in Chiang Mai and Chiang Rai. It was found that Anantara Golden Triangle Elephant Camp & Resort Chiang Rai had applied the most number of fine art in the lobby area. Furthermore, the eight items (plant, accessories, furniture, religious objects, sculptures, lighting, ceramics, animal objects) were identified to be more favored in decorating most of these selected hotels. Meanwhile, hotels in Chiang Mai had applied more fine art compared to Chiang Rai hotels. However, both provinces had applied Buddhist art motifs widely in decorating their hotel lobby. Another aspect, the influence of local tradition and belief into form and space, was also found. Only Dhara Dhevi Hotel Chiang Mai and Ratilanna Riverside Spa Resort Chiang Mai had combined these two aspects together. From these seven 5-star hotels, only the Dhara Dhevi Hotel Chiang Mai layout was fully designed to face the east. The second part, quantitative, was derived from the 57 respondents involved. From the findings, aesthetic factor was identified as an influential factor of impression towards fine art as decorations in creating the Lanna style for hotels in Chiang Mai and Chiang Rai. These respondents were also more satisfied with hotels in Chiang Mai in the way they had decorated their hotel lobby area. In conclusion, the Northern region of Thailand is very rich in various elements from its past civilization. The Northern region also prefers to apply Buddhist art motif as the decorative elements in the lobby area. However, it is extremely essential to disseminate accurate and appropriate information when displaying certain meanings and designs to the public. |
|
dc.description.abstractalternative |
วิทยานิพนธ์เรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ในการสำรวจและประเมินการใช้องค์ประกอบทางวัฒนธรรมด้านต่างๆรวมถึงคติความเชื่อพื้นถิ่นภาคเหนือเพื่อสร้าง “ความรู้สึกเป็นล้านนา” ในการดึงดูดความสนใจของนักท่องเที่ยว จากการศึกษาพบว่าการประยุกต์ใช้องค์ประกอบทางวัฒนธรรมดังกล่าวโดยกลุ่มต่างๆในภาคเหนือของประเทศไทยเป็นส่วนหนึ่งของการประกอบธุรกิจและการค้าซึ่งมีผลทั้งทางบวกและทางลบ งานวิจัยเรื่องนี้จะเน้นศึกษาการใช้งานศิลปะท้องถิ่นภาคเหนือในการตกแต่งห้องโถงต้อนรับของโรงแรมระดับ 5 ดาวในเขตจังหวัดเชียงใหม่และเชียงราย เหตุผลที่เลือกศึกษาโรงแรมในพื้นที่นี้ก็เพราะจังหวัดเชียงใหม่และเชียงรายได้รับยกย่องเป็นจังหวัดยอดนิยมสำหรับการท่องเที่ยว อันเนื่องมาจากการที่ทั้งสองจังหวัดเป็นแหล่งสำคัญของสิ่งที่น่าสนใจทางวัฒนธรรมที่สามารถดึงดูดความสนใจของนักท่องเที่ยวได้เป็นอันมาก งานวิจัยเรื่องนี้ประกอบด้วยสองส่วนหลักคือการสำรวจและวิเคราะห์ทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ ในการสำรวจและวิเคราะห์เชิงปริมาณนั้น ได้สำรวจการตกแต่งห้องโถงต้อนรับของโรงแรมระดับ 5 ดาวในเขตจังหวัดเชียงใหม่และเชียงรายจำนวน 7 แห่ง ซึ่งผลการสำรจพบว่าโรงแรมอนันตารา โกลเด้น ไทรแองเกิ้ล เอเลแฟนต์ แคมป์ แอนด์รีสอร์ตเชียงรายมีปริมาณการใช้ผลงานศิลปะพื้นเมืองภาคเหนือในการตกแต่งห้องโถงต้อนรับมากที่สุด นอกเหนือจากนั้นผลการสำรวจพบว่าโรงแรมที่เลือกศึกษาต่างนิยมใช้องค์ประกอบของงานศิลปะพื้นเมืองภาคเหนือ 8 ประการอันได้แก่ พันธุ์พืชท้องถิ่น ข้าวของเครื่องใช้ในครัวเรือน เครื่องเรือน ศิลปวัตถุทางศาสนา ประติมากรรม เครื่องปั้นดินเผา รูปสัตว์ต่างๆ และเทคนิกการใช้แสงเงา ในการตกแต่งห้องโถงต้อนรับ ในขณะที่การสำรวจพบว่าโรงแรมในจังหวัดเชียงใหม่นิยมใช้งานประณีตศิลป์ในการตกแต่งห้องโถงต้อนรับมากกว่าโรงแรมในจังหวัดเชียงราย แต่จะพบว่าโรงแรมในทั้งสองจังหวัดนิยมใช้ลวดลายจากงานพุทธศิลป์ภาคเหนือในระดับที่ใกล้เคียงกัน นอกจากนั้นยังพบว่าอิทธิพลของขนบธรรมเนียมประเพณีและคติความเชื่อท้องถิ่นในการกำหนดรูปแบบและการใช้พื้นที่ก็เป็นหลักการสำคัญที่แสดงออกมาในการตกแต่งห้องโถงต้อนรับ โดยเฉพาะในกรณีของโรงแรมดาราเทวี และโรงแรมรติล้านนา ริเวอร์ไซด์ สปารีสอร์ตจะพบความชัดเจนของการผสานหลักการทั้งเรื่องงานศิลปวัตถุและขนบประเพณีความเชื่อเข้าด้วยกัน เช่นโรงแรมดาราเทวีเชียงใหม่เป็นโรงแรมแห่งเดียวใน 7 แห่งที่เลือกศึกษาที่ให้ความสำคัญของการออกแบบให้โรงแรมหันหน้าไปทางทิศตะวันออก ในส่วนการศึกษาเชิงคุณภาพนั้นเป็นสำรวจและประเมินความคิดเห็นของแขกของโรงแรมทั้ง 7 แห่ง จำนวน 57 ราย ผลการสำรวจทำให้ประเมินได้ว่าปัจจัยด้านสุนทรียภาพมีความสำคัญยิ่งต่อการกำหนดความรู้สึกประทับใจในการตกแต่งเพื่อสร้างความรู้สึกเป็นล้านนาของห้องโถงต้อนรับในทุกโรงแรม อย่างไรก็ดีแขกของโรงแรมประทับใจการตกแต่งห้องโถงต้อนรับของโรงแรมในจังหวัดเชียงใหม่มากกว่า
ผลสรุปของงานวิจัยพบว่าโรงแรมระดับ 5 ดาวที่สำรวจนิยมใช้ลวดลายจากงานพุทธศิลป์ล้านนาในการตกแต่งห้องโถงต้อนรับเพื่อสร้าง “ความรู้สึกเป็นล้านนา” ให้กับสถานที่มากที่สุด อย่างไรก็ดีผลการวิจัยพบว่าการจะสร้างความรู้สึกประทับใจในห้องโถงต้อนรับให้กับแขกของโรงแรมแต่ละแห่งได้นั้น จำเป็นต้องมีการให้ความรู้เกี่ยวกับรูปลักษณ์และความหมายของงานศิลปะล้านนาที่แท้จริงให้กับแขกของโรงแรมก่อนด้วย |
|
dc.language.iso |
en |
|
dc.publisher |
Chulalongkorn University |
|
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2018.515 |
|
dc.rights |
Chulalongkorn University |
|
dc.subject |
Arts, Thai -- Thailand, Northern |
|
dc.subject |
Buddhist art |
|
dc.subject |
Hotel lobbies |
|
dc.subject |
Thailand, Northern -- Social life and customs |
|
dc.subject |
ศิลปะไทย -- ไทย (ภาคเหนือ) |
|
dc.subject |
ศิลปกรรมพุทธศาสนา |
|
dc.subject |
ห้องโถงโรงแรม |
|
dc.subject |
ไทย (ภาคเหนือ) -- ความเป็นอยู่และประเพณี |
|
dc.subject.classification |
Arts and Humanities |
|
dc.title |
The creation of a "Lanna sense of place" through fine arts in northern Thailand : a case study of hotel lobby decorations in Chiang Mai and Chiang Rai |
|
dc.title.alternative |
การสรรค์สร้าง "สำนึกเรื่องถิ่นที่แบบล้านนา" ผ่านงานศิลปกรรมทางภาคเหนือของประเทศไทย : กรณีศึกษาการตกแต่งล็อบบี้ของโรงเเรมในจังหวัดเชียงใหม่และเชียงราย |
|
dc.type |
Thesis |
|
dc.degree.name |
Doctor of Philosophy |
|
dc.degree.level |
Doctoral Degree |
|
dc.degree.discipline |
Thai Studies |
|
dc.degree.grantor |
Chulalongkorn University |
|
dc.email.advisor |
Dinar.B@Chula.ac.th,dinarboontharm@yahoo.com |
|
dc.email.advisor |
Julispong.C@Chula.ac.th |
|
dc.subject.keyword |
Sense of Lanna |
|
dc.subject.keyword |
Fine Art |
|
dc.subject.keyword |
Buddhist Art |
|
dc.subject.keyword |
Lobby |
|
dc.identifier.DOI |
10.58837/CHULA.THE.2018.515 |
|