DSpace Repository

Prevalence and factors associated with anemia among pregnant women attending AMDA hospital of Eastern Nepal

Show simple item record

dc.contributor.advisor Wandee Sirichokchatchawan
dc.contributor.author Gaurab Acharya
dc.contributor.other Chulalongkorn University. College of Public Health Sciences
dc.date.accessioned 2019-02-26T13:35:51Z
dc.date.available 2019-02-26T13:35:51Z
dc.date.issued 2018
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/61380
dc.description Thesis (M.P.H.)--Chulalongkorn University, 2018
dc.description.abstract Anemia in pregnancy is a global public health problem, affecting nearly 40% of the pregnant women worldwide. The higher burden of anemia was found in Nepal with 46% prevalence among pregnant women. This study is a health facility-based cross-sectional study carried out from September to October 2018. A total of 420 pregnant women of reproductive age group (18-49 years) attending the antenatal check-up in AMDA Hospital of Damak, Jhapa were recruited in this study. Data was collected through a validated semi-structured questionnaire. Collected data was analyzed in SPSS 22. Both descriptive and inferential statistics were employed in data analysis. Chi-square test was applied for the test of association between anemia and designated variables. Later, the variables with a p-value <0.20 obtained in bivariate was processed for multivariate analysis and considered significant with p-value <0.05. Finally, the adjusted odds ratio (AOR) with 95% confidence interval (CI) was reported. The prevalence of anemia was 42.1% in which 13.6% were severely anemic, 40.7% moderate and 45.8% were mild anemic. The study explored age group <20 and between 30-34 years (AOR 5.499, 95%CI: 1.172-25.792), (AOR 0.175, 95%CI: 0.042-0.735), pregnant with other religion (Buddhist, Christian, Kirant, Muslim) (AOR 3.217, 95%CI: 1.152-8.982), Janajati ethnicity (AOR 0.337, 95%CI: 0.134-0.848) were the factors associated with anemia. In addition, pregnant women working as laborer/peasant farmer (AOR 3.267, 95%CI: 1.121-9.522), Insufficient kitchen garden products (AOR 10.648, 95%CI: 2.702-41.961), vegetables brought rarely and sometimes (AOR 7.042, 95%CI: 1.049-47.277), (AOR 7.653, 95%CI: 2.308-25.371) had higher likelihood of having anemia. Correspondingly, vegetarian (AOR 6.264, 95%CI 1.646-23.830), DGLV once a week (AOR 8.139, 95%CI 1.714-38.680), no dietary diversity (AOR 6.741, 95%CI: 2.528-17.975) and prolong menstruation (AOR 2.696, 95%CI: 1.351-5.380) were independently associated with anemia as well. The findings identified the necessity of awareness on nutrition and the importance of dietary diversity to pregnant women. Similarly, adequate counseling by health workers on preventing anemia during ANC visit is highly recommended.-
dc.description.abstractalternative ปัญหาภาวะโลหิตจางเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญทั่วโลก และพบสูงถึงประมาณร้อยละ 40 ในสตรีตั้งครรภ์ ในประเทศเนปาลพบภาระโรคโลหิตจาง ด้วยความชุกสูงถึงร้อยละ 46 ในสตรีตั้งครรภ์ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อสำรวจความชุกและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะโลหิตจางในสตรีตั้งครรภ์ที่เข้ารับบริการโรงพยาบาลเอเอ็มดีเอ ในเนปาลตะวันออก การวิจัยแบบภาคตัดขวางในสถานบริการสุขภาพ ดำเนินการระหว่างเดือนกันยายนถึงตุลาคม 2018 โดยศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างสตรีตั้งครรภ์ อายุ 18-19 ปี ที่เข้ารับบริการโรงพยาบาลเอเอ็มดีเอ ในเนปาลตะวันออกทั้งหมด 420 คน ใช้แบบสอบถามที่พัฒนาขึ้นเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ตัวต่อตัว และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบไคว์สแควร์หรือฟิชเชอร์ และใช้การวิเคราะห์พหุตัวแปรในการทดสอบสมการถดถอยโลจิสติกที่ค่าความเชื่อมั่น p<0.05 เพื่อหาความสัมพันธ์ ผลการศึกษาพบความชุกของภาวะโลหิตจางในกลุ่มตัวอย่างคิดเป็นร้อยละ 42.1 โดยร้อยละ 13.6 มีภาวะโลหิตจางรุนแรง ภาวะโลหิตจางปานกลางคิดเป็นร้อยละ 40.7 และภาวะโลหิตจางรุนแรงน้อยคิดเป็นร้อยละ 45.8 ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (AOR>1) ต่อภาวะโลหิตจางในกลุ่มตัวอย่างสตรีตั้งครรภ์ ได้แก่ สตรีตั้งครรภ์อายุน้อยกว่า 20 ปี (AOR = 5.499, 95%CI: 1.172-25.792) สตรีตั้งครรภ์ช่วงอายุ 30-34 ปี (AOR = 0.175, 95%CI: 0.042-0.735) ศาสนาอื่นๆ (ได้แก่ ศาสนาพุทธ คริสเตียน มุสลิม และ kirant) (AOR = 3.217, 95%CI: 1.152-8.982) และ กลุ่มชาติพันธุ์ Janajati (AOR = 0.337, 95%CI: 0.134-0.848) อาชีพกรรมกรและเกษตรกร (AOR = 3.267, 95%CI: 1.121-9.522) รวมถึง ความไม่เพียงพอของผลผลิตจากสวนผัก (AOR = 10.648, 95%CI: 2.702-41.961) การซื้อผักนานครั้งๆ (AOR = 7.042, 95%CI: 1.049-47.277) และบางครั้ง (AOR = 7.653, 95%CI: 2.308-25.371) การเป็นมังสวิรัติ (AOR =  6.264, 95%CI 1.646-23.830) การรับประทานผักใบเขียวอาทิตย์ละครั้ง (AOR = 8.139, 95%CI 1.714-38.680) ความไม่หลากหลายของอาหารที่รับประทาน (AOR = 6.741, 95%CI: 2.528-17.975) และการมีประจำเดือนที่นานกว่าปกติ (AOR = 2.696, 95%CI: 1.351-5.380) สรุปผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่กล่าวมาข้างต้น (AOR>1) มีความสัมพันธ์เชิงบวกอย่างมีนัยสำคัญต่อภาวะโลหิตจางในสตรีตั้งครรภ์ การศึกษานี้จึงเสนอว่า ควรมีการเพิ่มความรู้เกี่ยวกับโภชนาการ และการรับประทานอาหารที่เหมาะสมต่อสตรีตั้งครรภ์ โดยเฉพาะการรับประทานผักใบเขียว และความหลากหลายของประเภทอาหารที่รับประทานขณะตั้งครรภ์ต่อไป
dc.language.iso en
dc.publisher Chulalongkorn University
dc.relation.uri http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2018.466
dc.rights Chulalongkorn University
dc.subject Anemia
dc.subject Anemia in pregnancy -- Nepal
dc.subject เลือดจาง
dc.subject เลือดจางในสตรีมีครรภ์ -- เนปาล
dc.title Prevalence and factors associated with anemia among pregnant women attending AMDA hospital of Eastern Nepal
dc.title.alternative ความชุกและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะโลหิตจางในสตรีตั้งครรภ์ที่เข้ารับบริการโรงพยาบาลเอเอ็มดีเอ ในเนปาลตะวันออก
dc.type Thesis
dc.degree.name Master of Public Health
dc.degree.level Master's Degree
dc.degree.discipline Public Health
dc.degree.grantor Chulalongkorn University
dc.subject.keyword ประเทศเนปาล
dc.subject.keyword โรงพยาบาล AMDA
dc.subject.keyword ภาวะโลหิตจาง
dc.subject.keyword สตรีตั้งครรภ์
dc.subject.keyword AMDA Hospital
dc.subject.keyword Anemia
dc.subject.keyword Pregnant women
dc.subject.keyword Health Professions
dc.identifier.DOI 10.58837/CHULA.THE.2018.466


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record