dc.contributor.author |
ผุสตี ปริยานนท์ |
|
dc.contributor.author |
กัมพล อิศรางกูร ณ อยุธยา |
|
dc.contributor.author |
นงเยาว์ จันทร์ผ่อง |
|
dc.contributor.author |
ธีรวรรณ นุตประพันธุ์ |
|
dc.contributor.author |
สีมา ชัยสวัสดิ์ |
|
dc.contributor.author |
กิ่งแก้ว วัฒนเสริมกิจ |
|
dc.contributor.author |
วีณา วิลาสเดชานนท์ |
|
dc.contributor.author |
อารมณ์ รัศมิทัต |
|
dc.contributor.author |
อาจอง ประทัตสุนทรสาร |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.coverage.spatial |
ไทย |
|
dc.date.accessioned |
2008-03-11T08:25:25Z |
|
dc.date.available |
2008-03-11T08:25:25Z |
|
dc.date.issued |
2527 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6224 |
|
dc.description |
โครงการวิจัยปีงบประมาณ 2526 |
en |
dc.description.abstract |
การทำบ่อเลี้ยงกบแบบไม่ครบวงจรมี 2 แบบ คือบ่อคอนกรีตที่จังหวัดระยอง และบ่อดินไม่ถาวรที่จังหวัดจันทบุรี อาหารที่ใช้เลี้ยงส่วนใหญ่เป็นปลาเป็ดสับขนาดต่าง ๆ และอาหารเสริมจำพวกปลวก ปลายข้าวต้มและแมลงที่ได้จากการล่อไฟในเวลากลางคืน การให้อาหาร 2 ครั้ง เช้า เย็น อายุ 1-3 เดือน ให้ 1 ครั้ง ต่อวันในตอนเย็น ช่วงอายุ 3 เดือนขึ้นไป ให้อาการ 1 ครั้ง/2 วัน กบจะขายได้เมื่ออายุประมาณ 4 เดือน ลักษณะบ่อดินทำความสะอาดยาก ระบายน้ำไม่สะดวก ศัตรูรบกวนได้งาน จับกบค่อนข้างลำบาก ส่วนบ่อคอนกรีตมีความสะดวกในการให้อาหาร ระบายน้ำทำความสะอาด แต่ค่อนข้างแห้งและขาดความชุ่มชื้น อุณหภูมิค่อนข้างสูง มีผลทำให้กบเครียดติดโรคได้ง่าย อัตราการติดโรคพยาธิค่อนข้างสูง |
en |
dc.description.abstractalternative |
Two types of rearing pond were observed in non-complete cycle frog-farming the concrete pond in Rayong Provinve and the mud pond in Chantaburi Province Typically, the chopped-fishes were used for feeding together with living termites, live-insected from night light-trap and boiled-rice as food supplement. The frogs were normally fed dially-once in the morning and once in the evening. However, the 1-3 months old frogs could be fed only once in the evening and that only every two days for 5 months old frogs. Marketable size is approximately 4 months old. The mud ponds while more close to natural conditions are difficult to clean, and drained. The frogs are move exposed to predators and difficult to collect for sale. The concrete pond, whileeasy to feed, clean and drain, is too dried with low humidity and high temperature. The rearing animals showed low growth rate and high parasitic infection. |
en |
dc.format.extent |
4434169 bytes |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.language.iso |
th |
es |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.subject |
กบ -- การเลี้ยง -- ไทย |
en |
dc.title |
การศึกษาชีววิทยาของกบเลี้ยงและการพัฒนาการเลี้ยงกบในประเทศไทย : รายงานการวิจัย |
en |
dc.title.alternative |
Biological study of the rearing frog with possibility of frog culture in Thailand |
en |
dc.type |
Technical Report |
es |
dc.email.author |
Putsateep@yahoo.com |
|
dc.email.author |
ไม่มีข้อมูล |
|
dc.email.author |
ไม่มีข้อมูล |
|
dc.email.author |
ไม่มีข้อมูล |
|
dc.email.author |
Seema@sc.chula.ac.th |
|
dc.email.author |
kingkaw.w@chula.ac.th |
|
dc.email.author |
ไม่มีข้อมูล |
|
dc.email.author |
ไม่มีข้อมูล |
|
dc.email.author |
aromrasmidatta@yahoo.com |
|
dc.email.author |
art-ong@chula.ac.th |
|