DSpace Repository

อิทธิพลของบุคลิกภาพ การปฏิสัมพันธ์ทางสังคม และอารมณ์ต่อการพยายามควบคุมอารมณ์

Show simple item record

dc.contributor.advisor คัดนางค์ มณีศรี
dc.contributor.author ศุภดี คุวสานนท์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา
dc.date.accessioned 2008-03-19T04:36:56Z
dc.date.available 2008-03-19T04:36:56Z
dc.date.issued 2546
dc.identifier.isbn 9741749791
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6287
dc.description วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 en
dc.description.abstract การวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาอิทธิพลของบุคลิกภาพ การปฏิสัมพันธ์ทางสังคมและอารมณ์ต่อการพยายามควบคุมอารมณ์ ผู้เข้าร่วมการวิจัย 160 คน บรรยายภาพสไลด์ที่กระตุ้นอารมณ์ให้แก่เพื่อนหรือคนแปลกหน้า จากนั้นผู้เข้าร่วมการวิจัยรายงานความพยายามควบคุมอารมณ์ของตน วิเคราะห์ข้อมูลโดยรูปแบบการวิจัยแบบ 2 (ความเป็นมิตรสูงหรือต่ำ) X2 (การปฏิสัมพันธ์กับเพื่อนหรือคนแปลกหน้า) X2 (สถานการณ์อารมณ์ทางบวกหรือทางลบ) แฟคทอเรียลดีไซน์ ผลการวิจัย พบว่า 1. คนที่มีบุคลิกภาพในมิติความเป็นมิตรสูงพยายามควบคุมอารมณ์มากกว่าคนที่มีบุคลิกภาพในมิติความเป็นมิตรต่ำอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับ .001 2. คนที่มีปฏิสัมพันธ์กับคนแปลกหน้าพยายามควบคุมอารมณ์มากกว่าคนที่มีปฏิสัมพันธ์กับเพื่อนอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับ .001 3. คนพยายามควบคุมอารมณ์ในสถานการณ์อารมณ์ทางลบมากกว่าในสถานการณ์อารมณ์ทางบวกอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับ .001 en
dc.description.abstractalternative The purpose of this study was to examine effects of personality, social interaction, and emotion on efforts to control emotions. Participants (N=160) described contents of emotionally evocative slides to a partner (either a friend or a stranger). Then they reported their efforts to control emotion. Analyses were conducted as a 2 (Agreebleness: high vs. low) X2 (interaction: friend vs. stranger) X2 (emotional situations: positive vs. negative) factorial design. Results are as follows: 1. High Agreeableness individuals spend greater effort to control emotions than do low Agreeableness individuals (p<.001). 2. Individuals exert more effort to control their emotions when interact with a stranger than with a friend (p<.001). 3. Individuals exert more effort to control emotions in the negative emotional situations than in the positive emotional wituations (p<.001). en
dc.format.extent 697068 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th es
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject บุคลิกภาพ en
dc.subject อารมณ์ en
dc.subject ปฏิสัมพันธ์ทางสังคม en
dc.title อิทธิพลของบุคลิกภาพ การปฏิสัมพันธ์ทางสังคม และอารมณ์ต่อการพยายามควบคุมอารมณ์ en
dc.title.alternative Effects of personality, social interaction, and emotion on efforts to control motions en
dc.type Thesis es
dc.degree.name ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต es
dc.degree.level ปริญญาโท es
dc.degree.discipline จิตวิทยาสังคม es
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.email.advisor Kakanang.M@Chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record