dc.contributor.advisor |
Paitoon Wiboonchutikula |
|
dc.contributor.author |
Wachara Jongkraijak |
|
dc.contributor.other |
Chulalongkorn University. Faculty of Economics |
|
dc.date.accessioned |
2019-09-14T02:31:53Z |
|
dc.date.available |
2019-09-14T02:31:53Z |
|
dc.date.issued |
2018 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/63053 |
|
dc.description |
Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2018 |
|
dc.description.abstract |
This paper investigates the impact of Global Production Networks (GPNs) on the industrial development in 3 aspects; domestic value added, labor productivity, and export performance, employing Trade in Value Added database at the country-sector level from Organization for Economic Cooperation and Development (OECD). The estimation is based on pooled time series, cross section and period fixed effect covering Automotive industry in 4 selected ASEAN countries; Thailand, Indonesia, Malaysia, and Philippines from 1995 to 2016. The results suggest that Thailand can exploit the benefit from GPNs through task specialization and economies of scales, at the same time expanding the domestic capacity. All GPNs involvements make Thailand gain positive value added and productivity, especially through forward linkages. And downstream specialization significantly boosts Thailand’s export performance. Indonesia significantly gains positive value added and productivity through backward linkages in GPNs, while forward linkages boost its export performance. Malaysia significantly lowers value added and productivity from GPNs involvement, which implies the limited domestic capacity to increase the GPNs participation. And though downstream specialization significantly boosts Malaysia's export performance, backward linkages significantly decrease domestic content in gross exports. Lastly, Philippines’ GPNs involvement does not have a significant impact on value added and productivity, and the domestic chains would contribute more to the industrial development. Philippines can increase domestic content in gross exports by producing selected auto parts which they have comparative advantages. As a result, its forward linkages significantly boost gross exports. However, its backward linkages significantly lower its domestic content in gross exports. |
|
dc.description.abstractalternative |
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาทของเครือข่ายการผลิตของโลกต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต์ในประเทศอาเซียนผ่าน 3 มุมมองคือมูลค่าเพิ่ม ผลผลิตทางแรงงาน และการส่งออกของอุตสาหกรรมยานยนต์ โดยใช้ข้อมูลจาก Trade in Value Added ในระดับอุตสาหกรรมของแต่ละประเภทจาก OECD การศึกษาใช้การวิเคราะห์แบบ Pooled times series ตามเงื่อนไข cross section และ period fixed effect ครอบคลุมข้อมูลจากอุตสาหกรรมยานยนต์ใน 4 ประเทศในอาเซียนได้แก่ ไทย อินโดนีเซีย มาเลเซีย และฟิลิปปินส์ ระหว่างปี 2538 ถึง 2559 ผลการศึกษาพบว่าประเทศไทยได้รับประโยชน์จากการเข้าไปมีส่วนร่วมในเครือข่ายการผลิตของโลกผ่านการเน้นความชำนาญในกระบวนการผลิต (task specialization) และ economies of scale และในขณะเดียวกันสามารถขยายศักยภาพการผลิตในประเทศ ประเทศไทยสามารถเพิ่มมูลค่าเพิ่มและผลผลิตทางแรงงานจากการเข้าไปมีส่วนร่วมในเครือข่ายการผลิตของโลก และการเน้นเข้าไปมีส่วนร่วมแบบ Downstream Specialization สามารถเพิ่มความสามารถในการส่งออกในอุตสาหกรรม ประเทศอินโดนีเซียสามารถเพิ่มมูลค่าเพิ่มและผลผลิตทางแรงงานจากการเข้าไปมีส่วนร่วมผ่านทาง Backward linkages และในขณะเดียวกันการเข้าไปมีส่วนร่วมผ่านทาง Forward linkages สามารถเพิ่มความสามารถในการส่งออกในอุตสาหกรรมยานยนต์ของประเทศ การเข้าไปมีส่วนร่วมในเครือข่ายการผลิตของโลกของประเทศมาเลเซียทำให้มูลค่าเพิ่มและผลผลิตทางแรงงานลดลง ซึ่งแสดงถึงข้อจำกัดของความสามารถในประเทศจากการเข้าไปมีส่วนร่วมในเครือข่ายเพิ่มมากขึ้น และถึงแม้ว่าการเน้นเข้าไปมีส่วนร่วมแบบ Downstream Specialization สามารถเพิ่มความสามารถในการส่งออกในอุตสาหกรรมให้กับประเทศมาเลเซีย แต่การเข้าไปมีส่วนร่วมผ่านทาง Backward linkages กลับทำให้มูลค่าที่เกิดขึ้นจริงในประเทศจากการผลิตสินค้าเพื่อการส่งออกลดลง และการเข้าไปมีส่วนร่วมในเครือข่ายการผลิตของโลกของประเทศฟิลิปปินส์ไม่ได้มีนัยสำคัญต่อมูลค่าเพิ่มและผลผลิตทางแรงงาน ซึ่งการพัฒนาศักยภาพในประเทศหรือห่วงโซ่มูลค่าในประเทศอาจจะส่งผลมากกว่าต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต์ในประเทศ ประเทศฟิลิปปินส์สามารถเพิ่มมูลค่าที่เกิดขึ้นจริงในประเทศจากการผลิตสินค้าเพื่อการส่งออกโดยการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ที่ประเทศฟิลิปปินส์มีข้อได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบ ดังนั้นการเข้าไปมีส่วนร่วมผ่านทาง Forward linkages จึงมีนัยสำคัญในการเพิ่มมูลค่าในการส่งออกในอุตสาหกรรมยานยนต์ในฟิลิปปินส์ แต่การเข้าไปมีส่วนร่วมผ่านทาง Backward linkages กลับทำให้มูลค่าที่เกิดขึ้นจริงในประเทศจากการผลิตสินค้าเพื่อการส่งออกลดลง |
|
dc.language.iso |
en |
|
dc.publisher |
Chulalongkorn University |
|
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2018.312 |
|
dc.rights |
Chulalongkorn University |
|
dc.subject.classification |
Economics |
|
dc.title |
Role of Global Production Networks on Development of Automotive Industry in selected ASEAN countries |
|
dc.title.alternative |
บทบาทของเครือข่ายการผลิตของโลกต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต์ในประเทศอาเซียน |
|
dc.type |
Thesis |
|
dc.degree.name |
Master of Arts |
|
dc.degree.level |
Master's Degree |
|
dc.degree.discipline |
International Economics and Finance |
|
dc.degree.grantor |
Chulalongkorn University |
|
dc.email.advisor |
Paitoon.W@Chula.ac.th |
|
dc.identifier.DOI |
10.58837/CHULA.THE.2018.312 |
|