DSpace Repository

ความสัมพันธ์ของแบบทดสอบกระโดดลงพื้นด้วยขาข้างเดียวกันกับการบาดเจ็บที่หัวเข่าในนักกีฬาฟุตบอลหญิงไทย

Show simple item record

dc.contributor.advisor วันชัย บุญรอด
dc.contributor.author กรกฎ ชรากร
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา
dc.date.accessioned 2019-09-14T02:47:05Z
dc.date.available 2019-09-14T02:47:05Z
dc.date.issued 2561
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/63138
dc.description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2561
dc.description.abstract วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาค่าตัวแปรทางกลศาสตร์การเคลื่อนไหวของการทำแบบทดสอบกระโดดลงพื้นด้วยขาข้างเดียวกันรวมถึงปัจจัยต่าง ๆ กับความสัมพันธ์กับโอกาสเกิดการบาดเจ็บของนักกีฬาฟุตบอลหญิงไทย ผู้เข้าร่วมงานวิจัยคือ กลุ่มนักกีฬาฟุตบอลหญิงทีมชาติไทยที่ได้รับเลือกเข้าค่ายฝึกซ้อมของทีมชาติ ในช่วงปี 2561 – 2562 ที่มีอายุระหว่าง 18 – 35 ปี โดยทำการเก็บข้อมูลทั่วไปและข้อมูลทางชีวกลศาสตร์จากการทดสอบกระโดดลงพื้นด้วยขาข้างเดียวกัน จากนั้นนำข้อมูลไปวิเคราะห์ทางสถิติเพื่อหาความสัมพันธ์กับประวัติที่เคยบาดเจ็บของตัวนักกีฬาเอง ผลการวิจัยพบว่าค่ามุมงอหัวเข่าบิดเข้าด้านในที่ได้จากการทดสอบกระโดดลงพื้นด้วยขาข้างเดียวกัน ส่งผลต่อการบาดเจ็บอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p = 0.037) ในขณะที่ค่าตัวแปรอื่นไม่ส่งผลต่อการบาดเจ็บอย่างมีนัยสำคัญ สรุปผลการวิจัย แบบทดสอบกระโดดลงพื้นด้วยขาข้างเดียวกันสามารถใช้ประเมินความเสี่ยงต่อการบาดเจ็บของนักกีฬาฟุตบอลหญิงได้ และในคนที่เคยบาดเจ็บจะมีการใช้งานทดแทนจากขาอีกข้างที่ไม่บาดเจ็บ ทำให้สามารถใช้งานหรือใช้ทักษะในการเล่นกีฬาได้
dc.description.abstractalternative Purpose: The purpose of this study was to find the relationship between kinematic values from a single leg jump landing test and the risk of injury in Thai women soccer players. Methods: The participants were Thai women soccer players who had been called up to the national team camp. Their ages were between 20 – 35 years. They were asked to perform the single leg jump landing test, and the data will be analyzed. Results: The knee valgus angle is one of the critical factor that has significant statistically (p = 0.037) for the injury risk. This could be a benefit for the team to screen the players who will be prone to injury and to receive the additional training to reduce the risk. Conclusion: Single leg jump landing test has role in evaluate the injury risk for Thai women soccer players.
dc.language.iso th
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
dc.relation.uri http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2018.1090
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
dc.subject การบาดเจ็บจากการเล่นฟุตบอล
dc.subject การบาดเจ็บทางการกีฬา
dc.subject ข้อเข่า -- บาดแผลและบาดเจ็บ
dc.subject นักฟุตบอลหญิง -- บาดแผลและบาดเจ็บ
dc.subject Soccer injuries
dc.subject Sports injuries
dc.subject Women soccer players -- Wounds and injuries
dc.subject Knee -- Wounds and injuries
dc.subject.classification Social Sciences
dc.title ความสัมพันธ์ของแบบทดสอบกระโดดลงพื้นด้วยขาข้างเดียวกันกับการบาดเจ็บที่หัวเข่าในนักกีฬาฟุตบอลหญิงไทย
dc.title.alternative Relationship of single leg jump landing test and the knee injuries in Thai women soccer players
dc.type Thesis
dc.degree.name วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline วิทยาศาสตร์การกีฬา
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
dc.subject.keyword นักฟุตบอลหญิง
dc.subject.keyword ปัจจัยเสี่ยงบาดเจ็บ
dc.subject.keyword แบบทดสอบกระโดดลงพื้นด้วยขาข้างเดียวกัน
dc.subject.keyword ค่าชีวกลศาสตร์
dc.subject.keyword การบาดเจ็บที่หัวเข่า
dc.identifier.DOI 10.58837/CHULA.THE.2018.1090


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record