dc.contributor.author |
สุกัญญา สุนทรส |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2008-03-20T04:33:19Z |
|
dc.date.available |
2008-03-20T04:33:19Z |
|
dc.date.issued |
2535 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6314 |
|
dc.description.abstract |
อิเลคโตรโฟรีซีส < Blectrophoresis > เป็นวิธีการทางชีวเคมีที่สำคัญในการประยุกต์ใช้กับโพลีมอร์ฟิคเอนไซม์ < polymorphic enzymes > ในงานตรวจพิสูจน์บุคคล รายงานนี้มีจุดประสงค์ที่จะประเมินระบบอิเลคโตรโฟรีซีสต่างๆ ในการจำแนกชนิดของฟอสโฟกลูโคมิวเตส < phosphoglucomutase, PGM > จากโลหิตมนุษย์ โดยเปรียบเทียบผลจากระบบอิเลคโตรโฟรีซีส 4 ระบบ ดังนี้ อิเลคโตรโฟรีซีสที่ใช้เซลลูโลสอะซิเตตเมมเบรน < Cellulose acetate membrane, CAM > ที่ พีเอช 7.4 สามารถจำแนก PGM ออกได้เป็น 3 ชนิดย่อย คือ 2-2, 1-1, และ 2-1 อิเลคโตรโฟรีซีสบนอะกาโรส-สตาร์ชที่พีเอชเดียวกันนี้ได้รูปแบบของชนิดย่อยเหมือนกัน แต่มีความคมชัดและความไวต่ำกว่า อิเลคโตรโฟรีซีสบนโพลีอคริลาไมด์เจล < polyacrylamide gel, PAGE > ชนิดระบบต่อเนื่อง ที่พีเอช 7.4 และชนิดระบบไม่ต่อเนื่องที่พีเอช 8.9 ไม่สามารถจำแนกเอนไซม์ได้เลย ไอโซอิเลคตริคโฟกัสซิ่ง < isoelectric focusing, IEF >บนโพลีอคริลาไมด์เจลสามารถจำแนกรูปแบบ PGM ได้ถึง 10 ชนิดย่อย คือ 1-, 1+, 1+1-, 2-, 2+, 2+2-, 1-2-, 1-2+, 1+2-, 1+2+ จึงเป็นระบบที่สามารถเพิ่มอำนาจในการแจกแจง < discriminating power > ของ PGM ได้มาก เมื่อเปรียบเทียบระบบ IEF ทั้งหมดที่ได้ทำการทดสอบพบว่า ระบบที่เคลื่อนที่ตามระนาบนอน ใช้พีเอช 5-7 และใช้ความเข้มข้นของเจล 5.3 %T มีความสามารถในการจำแนกและความไวสูงสุดรายละเอียดของแต่ละระบบปรากฏอยู่ในรายงาน |
en |
dc.description.abstractalternative |
Electrophoresis is a biochemical method for applying polymorphic enzymes utilizable for blood individualization in forensic area. The object of this report is to choose the most appropriated electrophoretic system for typing human blood phosphoglucomutase [PGM], one of the high-potential polymorphic enzymes for blood individualization. Four electrophoretic system were compared and the results were evaluated as summarized. Cellulose acetate membranye [CAM] electrophoresis at pH 7.4 could resolve PGM isozymes in to 3 subtypes namely 2-2, 1-1, and 2-1. Agarose-starch gel polyacrylamine gel at the same pH provided the same PGM pattern with relativity lower resolution and sensitivity. Polyacrylamide gel electrophoresis [PAGE] with continuous system at pH 7.4 or with discontinous system at pH 8.9 failed to resolve the enzyme. Isoelectricfocusing [IEF] on polyacrylamide gel provided the best resolution with 4 isozymes of 10 subtypes, namely 1-, 1+, 1+1-, 2-, 2+, 2+2-, 1-2-, 1-2+, 1+2-, 1+2+, thus highly increasedthe discriminating power of PGM. Among different IEF systems tested, horizontal system of pH 5-7 and 5.3. %T provided the best solution and sensitivity. The detail of each system is clearly reported. |
en |
dc.description.sponsorship |
ทุนวิจัยกองทุนรัชดาภิเษกสมโภช |
en |
dc.format.extent |
4206521 bytes |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.language.iso |
th |
es |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.subject |
โพลิมอร์ฟิคเอนไซม์ |
en |
dc.subject |
อิเล็กทรอฟอเรซิส |
en |
dc.title |
การศึกษาวิเคราะห์โพลีมอร์ฟิคเอนไซม์บางชนิดสำหรับงานนิติเวช : รายงานผลการวิจัย |
en |
dc.title.alternative |
Study of some polymorphic enzymes typing systems for forensic science |
en |
dc.type |
Technical Report |
es |
dc.email.author |
Suganya@chula.ac.th, ssukanya@chula.ac.th |
|