DSpace Repository

สารเร่งปฏิกิริยาไทเทโนซีนสำหรับการผลิตซินดิโอแทคทิคพอลิสไตรีน : รายงานผลการวิจัย

Show simple item record

dc.contributor.author วิมลรัตน์ ตระการพฤกษ์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned 2008-03-21T04:18:35Z
dc.date.available 2008-03-21T04:18:35Z
dc.date.issued 2544
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6329
dc.description.abstract ในงานวิจัยนี้ ได้ศึกษาผลของสารเร่งปฏิกิริยาร่วมต่อพอลิเมอไรเซชันของสไตรีน สารเร่งปฏิกิริยาร่วมที่ใช้ในการทดลองได้แก่ ไทรเฟนิลคาร์บีเนียม เททราเพนทาฟลูออโรเฟนิลบอเรต [Ph[subscript 3]C][B(C[subscript 6]F[subscript 5])[subscript 4], ไดเมทิลอะนิลิเนียม เททระคิสเพนทาฟลูออโรเฟนิลพอเรต [PhBNe[subscript 2]H][B(C[subscript 6]F[subscript 5])[subscript 4] และทริสเพนทาฟลูออโรเฟนิลบอเรต B(C[subscript 6]F[subscript 5])[subscript 3] ร่วมกับไทรไอโซบิวทิลอะลูมิเนียม (TIBA) สารเร่งปฏิกิริยาที่ใช้ คือ เพนทาเมทิลไซโคลเพนทาไดอีนิลไทเทเนียมไตรคลอไรด์ C[subscript 5](CH[subscript 3])[subscript 5]TiCl[subscript 3] จากการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการเร่งปฏิกิริยา ได้แก่ อุณหภูมิ เวลาในการทำพอลิเมอไรเซชัน อัตราส่วนโดยโมลของ Al/Ti ปริมาณของสารเร่งปฏิกิริยา ปริมาณของสารเร่งปฏิกิริยาร่วม พบว่า ภาวะที่เหมาะสมที่ให้ % ผลได้ (yield) ที่สูงคือ ที่อุณหภูมิ 70 ซ ในเวลา 1 ชั่วโมง ใช้อัตราส่วนโดยโมล Al/Ti เป็น 200 ปริมาณของสารเร่งปฏิกิริยาเป็น 0.005 มิลลิโมล ปริมาณสารเร่งปฏิกิริยาร่วมเท่ากับปริมาณของสารเร่งปฏิกิริยา นอกจากนี้ ขั้นตอน presaging ของสารเร่งปฏิกิริยากับ TIBA เป็นเวลา 10 นาทีมีความจำเป็น ทำให้เกิดแอคทีฟสปีชีส์ ได้ตรวจวิเคราะห์โครงสร้างของพอลิเมอร์ที่เตรียมได้ด้วยเทคนิคทางสเปกโทรสโคปี ใช้นิวเคลียร์แมกเนติกเรโซแนนซ์ ([superscript 1]H, [superscript 13]C NMR) FTIR และหาน้ำหนักโมเลกุล และการกระจายน้ำหนักโมเลกุล ด้วยเจลเพอมิเอชันโครมาโตกราฟี (GPC) หาจุดหลอมเหลวของพอลิเมอร์ด้วย Differential scanning calorimetry (DSC) สามารถยืนยันได้ว่า พอลิเมอร์ที่เตรียมได้เป็นพอลิสไตรีนชนิดซินดิโอแทคทิค พอลิสไตรีนทั้งหมดที่ได้จากระบบดังกล่าวมีจุดหลอมเหลวในช่วง 268-269 ซ และมีการกระจายตัวของน้ำหนักโมเลกุลที่แคบ ซินดิโอแทคทิคพอลิสไตรีนเป็นพลาสติกทางวิศวกรรมที่มีลักษณะกึ่งผลึก มีสมบัติต้านทานความร้อนและสารเคมีได้ดี จึงใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมอิเล็กโทรนิค ยานยนต์ และบรรจุภัณฑ์ en
dc.description.abstractalternative Half-titanocene catalysts ( CpTiCl[subscriot 3], *TiCl[subscript 3] and IndTiCl[subscript 3]) were used to catalyze the polymerization of styrene. The cocatalysts used are based on boron compounds; (B(C[subscript 6]F[subscript 5])[subscript 3] and [Ph[subscript 3]C][B(C[subscript 6]F[subscript 5])4]) with aluminium compounds (Al(CH[subscript 3])[subscript 3] or Al(I-C[subscript 4] H[subscript 9])[subscript 3]) as an alkylating agent. The factors affecting polymerization are studied: types of catalyst and concatalyst, polymerization temperature and time, Al/Ti redio. The experimental results reveal that the optimum conditions are: temperature of 65 degrees Celsius , polymerature time of 5 hours, Al/Ti ratio of 300. Comparison of the 3 catalyses studied, it was found that the catalytic activity order is: Cp*TiCl[subscript 3]>CpTiCl[subscript 3]. Which showed that electron donating group on the ligand (Cp*) increases the catalytic activity. Among the various catalytic systems tested, the pentamethyl cyclopentadienyl titanium trichloride (Cp*TiCl[subscript 3]) with [Ph[subscript 3]C][B(C[subscript 6]F[subscript 5])4]) and Al(I-C[subscript 4] H[subscript 9])[subscript 3]) was found found to be the best system for producing syndiotactic polystyrene science it was obtained 90% syndiotacticity. This single-site catalyst allows the control of polymer structure, which was revealed from the FT-IR spectrum, and %syndiotacticity determination. In addition, the molecular weight distribution of the polymer is narrow which is the advantage of this type of catalyst. en
dc.description.sponsorship ทุนวิจัยกองทุนรัชดาภิเษกสมโภช en
dc.format.extent 3138945 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th es
dc.publisher จุฬาลงกรณ์์มหาวิทยาลัย en
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject โพลิสไตรีน en
dc.subject ตัวเร่งปฏิกิริยา en
dc.subject โพลิเมอร์ไรเซชัน en
dc.subject สารประกอบโลหะอินทรีย์ en
dc.title สารเร่งปฏิกิริยาไทเทโนซีนสำหรับการผลิตซินดิโอแทคทิคพอลิสไตรีน : รายงานผลการวิจัย en
dc.title.alternative Titanocene catalyst for syndiotactic polystyrene production en
dc.type Technical Report es
dc.email.author Twimonrat@hotmail.com


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record