DSpace Repository

ความสามารถในการทำงานสำหรับงานยกของ

Show simple item record

dc.contributor.author จิตรา รู้กิจการพานิช
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2008-03-21T10:19:21Z
dc.date.available 2008-03-21T10:19:21Z
dc.date.issued 2541
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6358
dc.description โครงการวิจัย (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันวิจัยและพัฒนาคณะวิศวกรรมศาสตร์) ; เลขที่ 128-IR-2536 en
dc.description.abstract การศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาฐานข้อมูลความสามารถในการทำงาน หาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความสามารถในการทำงานยกของหรือผลตอบสนองของร่างกาย และทราบขีดความสามารถในการทำงานยกของและสามารถใช้ในการออกแบบงานได้ ผู้ถูกทดสอบได้แก่ นิสิตชายคณะวิศวกรรมศาสตร์จำนวน 2 คน และคนงานชายจากโรงงานอุตสาหกรรม จำนวน 1 คน จากการทดสอบหาความสามารถในการทำงานพบว่าปริมาณความต้องการใช้ออกซิเจนสูงสุด (VO2max) ของนิสิตเป็น 2 ลิตรต่อนาที ค่านี้ได้นำไปพิจารณาหาขีดจำกัดที่ยอมรับได้สำหรับงานยกของ พบว่าที่น้ำหนักของการยก 20 กิโลกรัมและความถี่ 4 ครั้งต่อนาที จะเป็นภาระงานที่หนัก ใช้พลังงานเกินกว่า 50% ของ VO2max ดังนั้นในการออกแบบงานควรหลีกเลี่ยงลักษณะงานที่มีภาระงานเท่ากับหรือมากกว่าที่น้ำหนักและความพี่ดังกล่าว ถ้าหลีกเลี่ยงไม่ได้จะต้องจัดให้มีเวลาหยุดพัก เพื่อให้ร่างกายฟื้นตัว ซึ่งพบว่าการยกกล่องที่มีขนาด 30 ซม.จะมีอัตราการฟื้นตัวดีกว่ากล่องขนาด 40 และ 50 ซ.ม. en
dc.description.abstractalternative The objective of this study were: 1) to develop the working capability of databases, 2) to study the relationship between relevant factors and the working capability in terms of physiological response, and 3) to evaluate the limits of lifting capability and then to be able to recommend task characteristics. The subjects were 2 students and one industrial worker. It was concluded that the maximum amount of oxygen consumption (VO2max) of the students was 2 lit per minute. This value was considerate to be an acceptable load and frequency for lifting. It was shown that the acceptable load and frequency of lifting could not be over 20 Kg and 4 cycles per minute. Less weight and frequency was also acceptable. These have provided guidelines for of manual lifting tasks. In any case where loads were over weight the frequency of lifting could not be avoided, a rest period was necessary for recovery. From this study, it also could be summarized that box sizes 30 cm. in width provided a higher percentage of recovery for manual lifting than ones of 40 to 50 com. in width. en
dc.description.sponsorship ทุนส่งเสริมการวิจัยคณะวิศวกรรมศาสตร์ en
dc.format.extent 7215411 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th es
dc.publisher สถาบันวิจัยและพัฒนาคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์์มหาวิทยาลัย en
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject การขนถ่ายวัสดุ en
dc.subject น้ำหนักและการวัด en
dc.subject สมรรถภาพทางกาย en
dc.subject ความสามารถในการทำงาน en
dc.title ความสามารถในการทำงานสำหรับงานยกของ en
dc.type Technical Report es
dc.email.author fieckp@eng.chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record