dc.contributor.advisor |
วลีรัตน์ ศุกรวรรณ |
|
dc.contributor.advisor |
ธนภูมิ โอสถานนท์ |
|
dc.contributor.author |
ปิยะรัตน์ เกิดผล |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะทันตแพทยศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-11-04T08:39:02Z |
|
dc.date.available |
2019-11-04T08:39:02Z |
|
dc.date.issued |
2555 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/63821 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555 |
en_US |
dc.description.abstract |
วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาบทบาทของเบสิกไฟโบรบลาสต์โกรทแฟกเตอร์ต่อเซลล์เนื้อเยื่อในฟันน้ำนม ในแง่ของการแบ่งตัวเพิ่มจำนวนและการแสดงออกของอาร์เอ็นเอนำรหัสของตัวบ่งชี้พลูริโพเทน (เร็กซ์-1) เมื่อเพาะเลี้ยงในระยะยาว วัสดุและวิธีการ ทำการเพาะเลี้ยงเซลล์เนื้อเยื่อในฟันน้ำนมมนุษย์ และปลูกถ่ายลงในจานเลี้ยงใหม่เป็นรุ่นต่อไปเมื่อถึงความหนาแน่นที่ต้องการ เซลล์ในกลุ่มศึกษาจะถูกเติมเบสิกไฟโบรบลาสต์โกรทแฟกเตอร์ในอาหารเลี้ยงเซลล์ เซลล์ในรุ่นที่ 5 และ 10 จะถูกวิเคราะห์การแบ่งตัวของเซลล์ การสร้างหน่วยโคโลนี และการแสดงออกของอาร์เอ็นเอนำรหัสของยีนเร็กซ์-1 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติทดสอบทีชนิดตัวอย่างอิสระ (p<0.05) ผลการศึกษา ผลการทดลองพบว่าเซลล์กลุ่มที่เติมเบสิกไฟโบรบลาสต์โกรทแฟกเตอร์ สามารถสร้างหน่วยโคโลนีได้มากกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ทั้งในรุ่นที่ 5 และรุ่นที่ 10 การแบ่งตัวเพิ่มจำนวนและการแสดงออกของระดับของอาร์เอ็นเอนำรหัสของยีนเร็กซ์-1 ในเซลล์กลุ่มที่เติมเบสิกไฟโบรบลาสต์โกรทแฟกเตอร์ มีแนวโน้มสูงกว่ากลุ่มควบคุม ทั้งในรุ่นที่ 5 และรุ่นที่ 10 อย่างไรก็ตามพบว่าไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ (P>0.05) สรุป เซลล์เนื้อเยื่อในฟันน้ำนมมีแนวโน้มของการแบ่งตัวเพิ่มจำนวน การสร้างหน่วยโคโลนี และการแสดงออกของอาร์เอ็นเอนำรหัสของยีนเร็กซ์-1ลดลงเมื่อเพาะเลี้ยงเป็นเวลานานขึ้น อย่างไรก็ดีการเติมเบสิกไฟโบรบลาสต์ โกรทแฟกเตอร์ สามารถช่วยเพิ่มการแบ่งตัวของเซลล์และการแสดงออกของอาร์เอ็นเอนำรหัสของ |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
Objective The main purpose of this study was to evaluate the effect of basic fibroblast growth factor (bFGF) on cell proliferation and Rex-1 expression of human deciduous pulp cells in long term culture. Materials and methods Human deciduous pulp cells were cultured and continued passage upon confluence. The study group was added bFGF in culture medium. At passage (P) 5 and 10, cell proliferation, colony forming unit efficacy and the mRNA expression of pluripotent marker (Rex-1) were determined. The data were analyzed by Student t-test for two-group comparison. (p<0.05). Results The results showed that colony forming unit was statistically higher in bFGF treated group compared to control in both cells from passage 5 and 10 (P<0.05). Cell proliferation and Rex-1 mRNA levels were also increased in bFGF treated group compared to control in cells from passage 5 and 10. However, statistical difference was not observed (P>0.05). Conclusion Cell proliferation, colony forming unit capacity, and Rex-1 mRNA expression were decreased in prolong deciduous pulp cells culture. However, bFGF supplementation can enhance both cell proliferation and Rex-1 mRNA expression in older passage. Therefore, bFGF supplementation might be useful in maintaining stemness properties of deciduous pulp cells in long term culture. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.14457/CU.the.2012.1826 |
|
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
สเต็มเซลล์ |
en_US |
dc.subject |
ฟันน้ำนม |
en_US |
dc.subject |
Deciduous teeth |
en_US |
dc.subject |
Stem Cells |
en_US |
dc.title |
ผลของเบสิกไฟโบรบลาสต์โกรทแฟกเตอร์ต่อคุณสมบัติการเพิ่มจำนวนและการแสดงออกของยีนเร็กซ์-1 ของเซลล์เนื้อเยื่อในฟันน้ำนมของมุนษย์ที่เพาะเลี้ยงระยะยาว |
en_US |
dc.title.alternative |
Effect of basic fibroblast growth factor on self-renewal properties and rex-1 expression of human deciduous pulp cells in long term culture |
en_US |
dc.type |
Thesis |
en_US |
dc.degree.name |
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต |
en_US |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
en_US |
dc.degree.discipline |
ทันตกรรมสำหรับเด็ก |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.email.advisor |
Waleerat.S@Chula.ac.th |
|
dc.email.advisor |
Thanaphum.O@Chula.ac.th |
|
dc.identifier.DOI |
10.14457/CU.the.2012.1826 |
|