DSpace Repository

Detecing high-potential gold mineralization areas using aster satellite images at Chatree gold mining area, Phichit and Phethchabun provinces

Show simple item record

dc.contributor.advisor Abhisit Salam
dc.contributor.advisor Sumet Phantuwongraj
dc.contributor.author Sigawas Sriprapaporn
dc.contributor.other Chulalongkorn University. Faculty of Science
dc.date.accessioned 2019-12-18T09:10:44Z
dc.date.available 2019-12-18T09:10:44Z
dc.date.issued 2017
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64091
dc.description โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2560 en_US
dc.description.abstract Satellite imagery has been used for resource exploration and management on earth’s surface such as wood density, land management and geological exploration. One of well-known satellite data, Advanced Spaceborne Thermal Emission and Reflection Radiometer (ASTER) satellite images, are used to observe gold deposits by collecting reflectance data of surface materials in the spectral ranges: visible, near-infrared, shortwave-infrared and thermal-infrared. The objective of this study is to use ASTER satellite images obtained before the official operation of Chatree gold mine to detect OH-bearing altered surface minerals considered high-potential gold mineralization areas. The image transformations: band ratio indices and principal component analysis were used on ASTER satellite images covering Chatree gold deposit. Subsequently, the ASTER data was compared to petrographic study and x-ray diffraction analysis of rock samples from representative locations. The results show ASTER satellite images can be used to detect high-potential gold mineralization when analyzed for OH-bearing altered minerals: illite, sericite, chlorite, and kaolinite and montmorillonite. According to the results, this research can be a case study for detecting high-potential gold mineralization areas for the low-sulfidation epithermal deposit in tropical regions. en_US
dc.description.abstractalternative ภาพถ่ายดาวเทียมสามารถนำมาใช้ในการสำรวจและจัดการทรัพยากรต่าง ๆ บนผิวโลก ไม่ว่าจะเป็นพื้นที่ป่าไม้ การวางแผนการใช้ที่ดินและการสำรวจทางธรณีวิทยา หนึ่งในภาพถ่ายดาวเทียมที่ถูกใช้อย่างแพร่หลาย คือ ภาพถ่ายดาวเทียม ASTER (Advanced Spaceborne Thermal Emission and Reflection Radiometer) ซึ่งใช้ในการสำรวจแหล่งแร่ทองคำ โดยอาศัยค่าการสะท้อนแสงที่บันทึกได้ของ วัตถุบนผิวดินในช่วงความยาวคลื่นแสงตามองเห็น อินฟราเรดใกล้ อินฟราเรดคลื่นสั้นและอินฟราเรดความร้อน งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อนำภาพถ่ายดาวเทียม ASTER ที่บันทึกข้อมูลภาพก่อนการเปิดกิจการของเหมืองทองคำชาตรีมาใช้ในการสำรวจพื้นที่ศักยภาพแหล่งแร่ทองคำ ทำการศึกษาการตรวจพบแร่แปรเปลี่ยนที่มีหมู่ไฮดรอกซิลในโครงสร้างบนผิวดินที่เกิดร่วมในแหล่งแร่ที่มีการสะสมตัวของทองคำแบบอีพิเทอร์มอลอุณหภูมิต่ำในบริเวณแหล่งแร่ทองคำชาตรี จังหวัดพิจิตรและเพชรบูรณ์ด้วยวิธี band ratio และ principal component analysis จากนั้นทำการแปลความหมายจากภาพถ่ายดาวเทียม ASTER และทำการเก็บตัวอย่างหินบริเวณผิวดิน นำมาวิเคราะห์ด้วยการศึกษาศิลาวรรณนำและศึกษาธรณีเคมีด้วยวิธี x-ray diffraction (XRD) ผลการศึกษาพบว่าภาพถ่ายดาวเทียม ASTER สามารถตรวจพบพื้นที่ศักยภาพแหล่งแร่ทองคำในบริเวณแหล่งแร่ทองคำชาตรีได้s ซึ่งสอดคล้องกับผลการศึกษาด้วยศิลาวรรณาและธรณีเคมี ที่พบแร่แปรเปลี่ยนที่มีหมู่ไฮดรอกซิลในโครงสร้าง ได้แก่ อิลไลต์ เซอริไซต์ คลอไรต์ เคโอลิไนต์และมอนต์โมริลโลไนต์ จากการศึกษาในครั้งนี้สามารถเป็นต้นแบบในการค้นหาพื้นที่ศักยภาพแหล่งแร่ทองคำแบบอีพิเทอร์มอลอุณหภูมิต่ำในพื้นที่เขตร้อนชื้นอื่น ๆ ต่อไป en_US
dc.language.iso en en_US
dc.publisher Chulalongkorn University en_US
dc.rights Chulalongkorn University en_US
dc.subject Geological surveys en_US
dc.subject Mines and mineral resources en_US
dc.subject การสำรวจทางธรณีวิทยา en_US
dc.subject แหล่งแร่ en_US
dc.title Detecing high-potential gold mineralization areas using aster satellite images at Chatree gold mining area, Phichit and Phethchabun provinces en_US
dc.title.alternative การสำรวจพื้นศักยภาพแหล่งแร่ทองคำโดยใช้ภาพถ่ายดาวเทียม ASTER บริเวณเหมืองทองคำชาตรี จังหวัดพิจิตรและเพชรบูรณ์ en_US
dc.type Senior Project en_US
dc.email.advisor Abhisit.A@chula.ac.th
dc.email.advisor Sumet.P@chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record