DSpace Repository

การปรับปรุงคุณภาพน้ำมันไพโรไลซิสจากขยะพลาสติกเป็นน้ำมันดีเซลโดยใช้แอคติเวเต็ดเคลย์เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา

Show simple item record

dc.contributor.advisor ธราพงษ์ วิทิตศานต์
dc.contributor.author ชยุต ตั้งมั่นคงวรกูล
dc.contributor.author สิทธิเดช สมศรี
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned 2020-02-05T06:41:35Z
dc.date.available 2020-02-05T06:41:35Z
dc.date.issued 2561
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64127
dc.description โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเคมีวิศวกรรม คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2561
dc.description.abstract งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสามารถในการใช้แอคติเวเต็ด เคลย์ฟอกสีน้ำมันไพโรไลซิสจากขยะพลาสติกเพื่อเป็นอีกแหล่งพลังงานทางเลือกที่น่าสนใจสำหรับพลังงานหมุนเวียนและศึกษาผลของตัวแปรต่าง ๆ ในการทดลองที่เหมาะสมต่อการฟอกสีน้ำมันไพโรไลซิสจากขยะพลาสติกโดยแอคติเวเต็ด เคลย์ ซึ่งเป็นตัวดูดซับที่หาง่ายและมีราคาถูก ตัวแปรที่ศึกษา ได้แก่ อุณหภูมิ 30, 40 และ 50 องศาเซลเซียส เวลา 1,5, 15, 30, 45 และ 60 นาที ความเร็วเครื่องเขย่าช้า ปานกลาง และเร็ว ขนาดแอคติเวเต็ด เคลย์ใหญ่ และเล็ก และอัตราส่วนแอคติเวเต็ด เคลย์ต่อน้ำมันไพโรไลซิสร้อยละ 25, 50, 75 และ 100 โดยน้ำหนัก พบว่าสภาวะที่เหมาะสมที่สุดในการฟอกสีน้ำมันไพโรไลซิส คือ ที่อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส เวลา 1 นาที ความเร็วเครื่องเขย่าช้า แอคติเวเต็ด เคลย์ขนาดเล็ก และอัตราส่วนแอคติเวเต็ด เคลย์ต่อน้ำมันไพโรไลซิสร้อยละ 100 โดยน้ำหนัก ซึ่งที่สภาวะนี้ผลิตภัณฑ์ของเหลวมีสีใกล้เคียงน้ำมันดีเซลจากปั๊ม PT มากที่สุด แอคติเวเต็ด เคลย์ก่อนและหลังการฟอกสีน้ำมันไพโรไลซิสนำไปวิเคราะห์โดยวิธี X-ray fluorescence (XRF) และ X-ray diffraction (XRD) เพื่อศึกษาองค์ประกอบและโครงสร้างผลึก en_US
dc.description.abstractalternative This research was aimed to study the performance of activated clay that used as an adsorbent for decolorization of pyrolysis oil from waste plastic, and to find the optimum condition for decolorization of pyrolysis oil from waste plastic by activated clay, which is natural and inexpensive adsorbent. Several parameters were investigated, i.e., ; size of activated clay of large and small; activated clay ratio to oil of 25, 50, 75 and 100 wt%; temperature of 30, 40 and 50 °C; shaking speed of slow, medium and fast and contact time of 1, 5, 15, 30, 45 and 60 minutes. The optimum condition for decolorization of pyrolysis oil was at 30 °C, 1 minute, slow shaking speed, small activated clay and activated clay ratio of 100 wt% to oil. Resulting the liquid oil has color close to diesel oil from the PT gas station. The results from X-ray fluorescence (XRF) and X-ray diffraction(XRD) analysis show that the main component and crystal structure of activated Clay before and after decolorization of pyrolysis oil respectively. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject น้ำมันไพโรไลซิส en_US
dc.subject ขยะพลาสติก en_US
dc.subject Pyrolysis oil en_US
dc.subject ขยะพลาสติก en_US
dc.title การปรับปรุงคุณภาพน้ำมันไพโรไลซิสจากขยะพลาสติกเป็นน้ำมันดีเซลโดยใช้แอคติเวเต็ดเคลย์เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา en_US
dc.title.alternative Treatment of pyrolysis oil from waste plastic to diesel by activated clay en_US
dc.type Senior Project en_US
dc.email.advisor Tharapong.V@Chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record