DSpace Repository

สิทธิของเหยื่ออาชญากรรมในผลประโยชน์จากการเปิดเผยข้อเท็จจริงในการกระทำ

Show simple item record

dc.contributor.advisor วีระพงษ์ บุญโญภาส
dc.contributor.author กานต์ ดุลยฤทธิ์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์
dc.date.accessioned 2020-02-22T04:08:41Z
dc.date.available 2020-02-22T04:08:41Z
dc.date.issued 2543
dc.identifier.isbn 9741302053
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64212
dc.description วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543
dc.description.abstract ปัจจุบันเมื่อมีการกระทำความผิดอาญาร้ายแรงสะเทือนขวัญสาธารณชนมักจะให้ความสนใจต่อการติดตามรับทราบเรื่องราวการกระทำดังกล่าวเป็นอย่างมาก จึงเป็นช่องทางให้ผู้กระทำความผิดสามารถสร้างผลประโยชน์จากการขายเรื่องราวในการกระทำดังกล่าว โดยติดต่อกับผู้ประพันธ์หรือผู้ตีพิมพ์เพื่อขายเรื่องราวการกระทำความผิด ประเทศไทยไม่มีกฎหมายคุ้มครองสิทธิของเหยื่อหรือผู้เสียหายจากการเปิดเผยข้อเท็จจริงในการกระทำดังกล่าวโดยเฉพาะ จึงทำให้เหยื่อหรือผู้เสียหายมีเพียงหนทางเดียว คือการดำเนินการฟ้องคดีละเมิดตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ซึ่งมีข้อบกพร่องหรือปัญหาหลายประการทำให้เหยื่อไม่ได้รับค่าทดแทนจากการเปิดเผยอย่างเต็มที่ งานวิจัยชิ้นนี้ มุ่งศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างเหยื่ออาชญากรรมโดยตรงจากการกระทำกับผลประโยชน์ที่ผู้กระทำความผิดได้รับจากการเปิดเผยข้อเท็จจริงในการกระทำและแนวทางในการฟ้องคดีตามกฎหมาย เพื่อให้เหยื่อได้รับการชดเชยความเสียหายให้มากที่สุด การนำกฎหมายดังกล่าวมาใช้ต้องบัญญัติถึงประเภทความผิด หรือขอบเขตของผลประโยชน์ที่เหยื่อมีสิทธิให้ชัดเจน การนำแนวทางการฟ้องคดีดังกล่าวมาใช้ จึงเป็นแนวทางแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการฟ้องคดี เพื่อเรียกร้องผลประโยชน์ที่ผู้กระทำความผิดได้รับจากการเปิดเผยข้อเท็จจริงในการกระทำได้
dc.description.abstractalternative Nowadays, when a sensational crime was committed, the public are always interested in following up to those wrongdoing fact. Hence, offender can expect to receive large sums of money once he is captured by contracting with authors or publishers for selling his story. But there are no any specific provisions under Thai law which can protect victim's right in the profit arisen from disclosure of wrongdoing fact. To be entitled to the profit from crimes, victim must institute an action under tort provision in civil court and recover a judgment for damages. However, there are still some faults and problems which make it difficult for victim of crime to seek for remedies through existing tort provisions. It is the aim of this thesis to study on relationship between direct crime victim and profit from disclosure of wrongdoing fact and all form of action guidelines. The thesis does recommend that the adopted profit from crime law must provide clearly on what kinds of crimes or profit which victims was entitled. The applicability of victim's right in the profit from crime could be an effective solution for victims.
dc.language.iso th
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
dc.subject อาชญากรรม
dc.subject เหยื่ออาชญากรรม -- สถานภาพทางกฎหมาย
dc.title สิทธิของเหยื่ออาชญากรรมในผลประโยชน์จากการเปิดเผยข้อเท็จจริงในการกระทำ
dc.title.alternative Victim's right in the profit arisen from disclosure of wrongdoing fact
dc.type Thesis
dc.degree.name นิติศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline นิติศาสตร์
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record