dc.contributor.advisor |
พันทิพา ทิพย์วิวัฒน์พจนา |
|
dc.contributor.author |
ศุภชัย อินทะ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2020-03-05T10:28:26Z |
|
dc.date.available |
2020-03-05T10:28:26Z |
|
dc.date.issued |
2561 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64298 |
|
dc.description |
โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2561 |
en_US |
dc.description.abstract |
ในโครงงานนี้เราศึกษาวิธีการแก้ปัญหาการจัดตารางการผลิตที่มีกำหนดเวลาโดยใช้ วิธีการกำหนดการเชิงเส้นจำนวนเต็ม (Integer linear programming method) และวิธีการจัดตารางการผลิตแบบนอนดีเลย์ (Nondelay scheduling scheme method) เพื่อแก้หาคำตอบตามฟังก์ชันจุดประสงค์ที่กำหนดไว้ ซึ่งได้ใช้ปัญหามาตรฐาน (Benchmark) ขนาด 10 งาน กับ 5 เครื่องจักร จำนวน 5 ปัญหา พร้อมกับพิจารณากำหนดเวลาแยกออกเป็น 3 แบบและกำหนดค่าพารามิเตอร์ต่าง ๆ เป็นค่าคงตัวที่สอดคล้องกับปัญหาดังกล่าว จากนั้นจะแสดงผลการเปรียบเทียบของคำตอบที่ได้จากทั้ง 2 วิธีการ ผ่านค่าร้อยละความคาดเคลื่อนสัมพัทธ์ (RE : Relative Error) และค่าเฉลี่ยของร้อยละความคาดเคลื่อนสัมพัทธ์ (MRE: Mean Relative Error) เพื่อสรุปผลจากผลคำตอบที่ได้มา พร้อมทั้งแสดงถึงปัญหาที่พบเมื่อใช้วิธีการจัดตารางการผลิตแบบนอนดีเลย์และเสนอแนวทางการปรับปรุงวิธีการฮิวริสติกดังกล่าว |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
In this project, we study job shop scheduling problems with due date and use two methods to find solution of a job shop scheduling problems with due date and state an appropriate objective function. First, we use integer linear programming method. Second, we use nondelay scheduling scheme method. Next, we use 10 jobs and 5 machines for benchmark of job shop cheduling problems. In case of due date. We conside three types of due date and assign parameters that correspond to a job shop scheduling problems with due date. After that, we use the relative error (RE) and the mean relative error (MRE) to compare solutions. Finally, we conclude all results and explain the problems we had been encountered while using nondelay. Moreover, we provide an idea how to improve our heuristic method. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.title |
วิธีการฮิวริสติกสำหรับการแก้ปัญหาการจัดตารางการผลิตที่มีกำหนดเวลา |
en_US |
dc.title.alternative |
Heuristic method for job shop scheduling problem with due date |
en_US |
dc.type |
Senior Project |
en_US |
dc.email.advisor |
Phantipa.T@Chula.ac.th |
|