dc.contributor.advisor |
ประณัฐ โพธิยะราช |
|
dc.contributor.author |
กิตตินนท์ สกุลโภคทรัพย์ |
|
dc.contributor.author |
ภูมิภัทร์ ก้องเกรียงไกร |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2020-03-10T06:19:44Z |
|
dc.date.available |
2020-03-10T06:19:44Z |
|
dc.date.issued |
2561 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64322 |
|
dc.description |
โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวัสดุศาสตร์, คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2561 |
en_US |
dc.description.abstract |
ในงานวิจัยนี้มุ่งเน้นในการพัฒนาวัสดุเชิงประกอบระหว่างเอบีเอสและแกรฟีน เพื่อใช้ในการผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ในเครื่องใช้ไฟฟ้าด้วยเทคโนโลยีการพิมพ์สามมิติ โดยเริ่มจากการเตรียมแกรฟีนจากผงแกรไฟต์ด้วยวิธีที่ดัดแปลงมาจากวิธีของฮัมเมอร์ หลังจากนั้นนาแกนฟีนที่เตรียมได้มาผสมกับเอบีเอสด้วยเทคนิคที่แตกต่างกัน 3 รูปแบบ ให้ได้วัสดุเชิงประกอบที่มีแกรฟีนความเข้มข้นสูง แล้วจึงนำมาผสมกับเม็ดพลาสติกเอบีเอสบริสุทธิ์ด้วย เครื่องอัดรีดแบบเกลียวหนอนคู่เพื่อขึ้นรูปเป็นเส้นวัสดุเชิงประกอบสำหรับการพิมพ์สามมิติ โดยจะทำการศึกษาสมบัติต่าง ๆ ได้แก่ ความสามารถในการขึ้นรูปด้วยเทคโนโลยีการพิมพ์สามมิติ (printability) ของเส้นวัสดุเชิงประกอบที่เตรียมได้ เช่น สมบัติทางความร้อน สมบัติเชิงการไหล เป็นต้น นอกจากนี้จะทำการศึกษาสมบัติเชิงกล สัณฐานวิทยา รวมไปถึง สมบัติทางไฟฟ้า ของชิ้นงานจากวัสดุเชิงประกอบที่พัฒนาขึ้นซึ่งทาการขึ้นรูปด้วยการพิมพ์สามมิติ ผลการทดลองพบว่า วิธีการผสมแกรฟีนกับเอบีเอสเพื่อให้ได้วัสดุเชิงประกอบที่มีแกรฟีนความเข้มข้นสูง พบว่า วิธีการระเหยตัวทำละลายที่อุณหภูมิห้อง ได้ชิ้นทดสอบที่ขึ้นรูปด้วยการพิมพ์สามมิติที่มีคุณสมบัติด้านแรงดึงที่ดีที่สุด รวมถึงสมบัติดัชนีการหลอมไหล ผลของการเติมอุนภาคแกรฟีนลงไปในเอบีเอสต่อสมบัติของชิ้นทดสอบที่ขึ้นรูปด้วยการพิมพ์สามมิติ พบว่าเมื่อปริมาณการเติมแกรฟีน 1 ส่วนต่อพอลิเมอร์ 100 ส่วน ชิ้นทดสอบจะมีสมบัติด้านแรงดึงและความทนแรงกระแทกที่เพิ่มขึ้น และลดต่ำลงเมื่อเพิ่มปริมาณแกรฟีนตั้งแต่ 3 ส่วนต่อพอลิเมอร์ 100 ส่วนขึ้นไป และชิ้นงานที่เติมแกรฟีนมีดัชนีการหลอมไหล และอุณหภูมิการสลายตัวที่สูงขึ้น อีกทั้งยังสามารถช่วยเพิ่มสมบัติต้านไฟฟ้าสถิตให้กับวัสดุเชิงประกอบพอลิแล็กทิกแอซิดได้ |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
In this research we focus on the development of ABS with graphene composite materials for using in the production of electronic components in electrical appliances by 3D printing. By starting with the preparation of graphene from graphite powder in a modified Hummer’s method. After that, the graphene is mixed with ABS with 3 different techniques to obtain composite materials with high concentration graphene and then mixed with pure ABS by twin screw extruder to form a composite material for 3D printing. By studying various properties including the printability of prepared material filaments such as thermal properties, melt flow rate etc. In addition, mechanical properties, morphology and electrical properties of the specimens from the developing composite material by 3D printing are studied. The results showed that graphene and ABS blending methods composite materials by solvent evaporation methods at room temperature to obtain high concentration graphene. The specimens that are molded by 3D printing have the best tensile and melt flow index properties. The results of the properties of the 3D printing specimens by adding graphene to the ABS showed that when the amount of graphene was added 1 phr polymers will increase tensile and impact strength properties and decreasing when increase the amount of graphene from 3 parts or more per 100 polymers but increase the melt flow index and decomposition temperature. And also help to increase the antistatic properties for polylactic acid composite materials. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.title |
นาโนคอมโพสิตชนิดใหม่ของเอบีเอสและแกรฟีนสาหรับการพิมพ์สามมิติแบบหลอมเหลว |
en_US |
dc.title.alternative |
A novel ABS/Graphene Nanocomposite for FDM 3D printing |
en_US |
dc.type |
Senior Project |
en_US |
dc.email.advisor |
Pranut.P@Chula.ac.th |
|