dc.contributor.advisor | สุชาดา จันทร์ประทีป นภาธร | |
dc.contributor.author | ปวันรัตน์ ชัยศรี | |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2020-04-01T06:55:10Z | |
dc.date.available | 2020-04-01T06:55:10Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64584 | |
dc.description | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาจุลชีววิทยา. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2561 | en_US |
dc.description.abstract | ปัจจุบันได้เกิดปัญหามลภาวะขยะพลาสติกเพิ่มมากขึ้น ทำให้เริ่มมีการสนใจพลาสติกชีวภาพทดแทนพลาสติกจากพลังงานปิโตรเลียม เนื่องจากพลาสติกชีวภาพสามารถย่อยสลายได้เร็วเมื่อเทียบกับพลาสติกจากพลังงานปิโตรเลียม Polyhydroxyalkanoate (PHAs) เป็นพลาสติกชีวภาพทางเลือกหนึ่งที่เริ่มมีการสนใจมากขึ้น ซึ่ง PHAs เป็นพอลิเอสเทอร์ที่มีคุณสมบัติคล้ายพลาสติกจากแหล่งปิโตรเลียมและเป็นพอลิเมอร์ชีวภาพจากจุลินทรีย์ที่ผลิตได้โดยจุลินทรีย์หลายชนิดและเมื่อเกิดการย่อยสลายในธรรมชาติได้ผลิตภัณฑ์สุดท้ายเป็นน้ำและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในสภาวะไร้อากาศ ซึ่งสามารถช่วยลดปริมาณขยะตกค้างหลังจากนำไปฝังกลบได้ วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้เพื่อคัดแยกหาแบคทีเรียที่มีความสามารถในการผลิต PHAs จากดินที่ได้ทำการฝังแผ่น PHB ลงไป แล้วพบว่าน้ำหนักของแผ่นพลาสติกมีน้ำหนักที่ลดลงเมื่อเวลาผ่าน ซึ่งสามารถคัดแยกได้ทั้งหมด 8 ไอโซเลต โดยใช้อาหารคัดเลือกที่ทำการผสม Nile Blue A ลงไป เพื่อเป็นการตรวจหาแบคทีเรียที่สามารถผลิต PHAs ผลการวิเคราะห์ยีนบริเวณ 16S rRNA ของทั้ง 8 ไอโซเลต แสดงให้เห็นว่ามีความคล้ายคลึงกับ Chryseobacterium daecheongense DSM 15235 98.84 เปอร์เซ็นต์ Pseudomonas tianjinensis 68 98.70 เปอร์เซ็น Lysinibacillus boronitolerans T-10a 98.93 เปอร์เซ็นต์ Enterobacter hormaechei subsp. Xiangfangensis 10-7 99.86 เปอร์เซ็นต์ Sphingopyxis indica DS15 99.47 เปอร์เซ็นต์ Gordonia bronchialis DSM 43247 98.57 เปอร์เซ็นต์ Mesorhizobium soli NHI-8 96.53 เปอร์เซ็นต์ และ Pseudomonas citronellolis NBRC 103043 99.64 เปอร์เซ็นต์ | en_US |
dc.description.abstractalternative | The current problem of plastic waste pollution has been increasing. There is interest in using biodegradable plastic instead of plastic synthetic because biodegradable plastics can be decomposed faster than plastic synthetic. Polyhydroxyalkanoates (PHAs) are one of the most recognised bioplastics. PHAs are polyester having similar properties with petrochemical plastics. Moreover, PHAs are microbial biopolymers produced by various types of microorganisms. Biodegradation of PHAs, compounds commonly occurring in the natural environment, such as CO₂, H₂O, NH4, N₂, H₂ and biomass are produced. Which can reduce the amount of residual waste to landfill. Sinsukudomchai P. has studied by burying PHA film in soil and found that weight of PHA film decreased in 1 month. Thus, we expected in this soil has PHA - degrading microorganisms and may have PHA – producing microorganisms. The goal of this study was to isolate the PHA – producing bacteria from soil, as well as to identify microbial producer of PHA polymer. Isolated all 8 isolates by selective medium that mix Nile Blue A for checking bacteria that can produce PHAs. Base on 16S rRNA gene analysis of these 8 isolates were identified as species belonging to Chryseobacterium daecheongense DSM 15235 (98.84%), Pseudomonas tianjinensis 68 (98.70%), Lysinibacillus boronitolerans T-10a (98.93), Enterobacter hormaechei subsp. Xiangfangensis 10-7 (99.86%), Sphingopyxis indica DS15 (99.47%), Gordonia bronchialis DSM 43247 (98.57%), Mesorhizobium soli NHI-8 (96.53%) and Pseudomonas citronellolis NBRC 103043 (99.64%). | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.title | การคัดแยกและระบุลักษณะสมบัติของแบคทีเรียที่มีความสามารถในการผลิตพอลิไฮดรอกซีแอลคาโนเอตจากดิน | en_US |
dc.title.alternative | Isolation and characterization of polyhydroxyalkanoate producing bacteria from soil | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
dc.email.advisor | Suchada.Cha@Chula.ac.th |