dc.contributor.advisor |
จิราพร เกศพิชญวัฒนา |
|
dc.contributor.author |
นพวรรณ แกมคำ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2020-04-05T05:04:29Z |
|
dc.date.available |
2020-04-05T05:04:29Z |
|
dc.date.issued |
2562 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64659 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2562 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อเพื่อศึกษาระดับความฉลาดทางสุขภาพและเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง เพศ อายุ รายได้ ระดับการศึกษา การสนับสนุนทางสังคมและการมีส่วนร่วมในสังคม กับระดับความฉลาดทางสุขภาพของผู้สูงอายุในเขตกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป สัญชาติไทย ทั้งเพศชายและเพศหญิงอาศัยในเขตกรุงเทพมหานคร ที่อาศัยอยู่ในเขตราชเทวี เขตบางพลัด และเขตตลิ่งชัน จำนวน 420 คน โดยซึ่งได้รับการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คน และหาค่าความ หาความเที่ยงจากการคำนวณค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค ได้ค่าความเที่ยงเท่ากับ .874, .870 และ .894 ตามลำดับ (แบบสอบถามการมีส่วนร่วมทางสังคม แบบวัดระดับความฉลาดทางสุขภาพของผู้สูงอายุ แบบวัดการสนับสนุนทางสังคม) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สันและสถิติไคน์แสควนัยสำคัญทางสถิติเท่ากับ .05 ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ผู้สูงอายุในเขตกรุงเทพมหานครส่วนใหญ่มีระดับความฉลาดทางสุขภาพอยู่ในระดับพื้นฐาน 2. เพศ อายุ รายได้ การสนับสนุนทางสังคม การมีส่วนร่วมทางสังคมมีความสัมพันธ์กับระดับของความฉลาดทางสุขภาพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 มีค่า r = .004, -.223, .215, .480, .432ตามลำดับ 3. ระดับการศึกษา ไม่มี ความสัมพันธ์กับระดับความฉลาดทางสุขภาพ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 |
|
dc.description.abstractalternative |
The purpose of this descriptive exploratory research were to study a level of health literacy
in older person in Bangkok metropolis and to study the relationships between health literacy and
gender, age, income, education level, social participation and social support of older persons in
Bangkok Metropolitan. Four hundred and twenty older persons of Ratchathewi, Bang Phlat and Taling
Chan District of Bangkok with 60 years old and above. The instruments of this research were
composed of Demographic information, Health literacy questionaire, Modified Social Participation
Questionnaire and social support questionnaire. These instruments were tested for their content
validity by a panel of experts. The reliabilities of these questionaires were .870, .874 and .894
respectively (Health literacy questionaire, Modified Social Participation Questionnaire and social
support questionnaire). Data were analyzed by using frequency, percentage, mean, standard deviation,
Pearson’ s product moment correlation, and Chi-square test The statistical significance level was set
at 0.05. The major findings were as followed: 1. The health literacy of older persons in Bangkok Metropolitan was in basic functional
level. 2. Gender, age, income, social participation and social support were found to be correlated
with health literacy with statistical significance at .05. (r=.004, -.223, .215, .480, .432 respectively) 3. Older persons with difference education levels had no differences in terms of healthy
literacy with statistical significance at .05 |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
|
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2019.1015 |
|
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
|
dc.subject |
ความรอบรู้ทางสุขภาพ |
|
dc.subject |
ผู้สูงอายุ |
|
dc.subject |
Health literacy |
|
dc.subject |
Older people |
|
dc.subject.classification |
Nursing |
|
dc.title |
การศึกษาความฉลาดทางสุขภาพของผู้สูงอายุในกรุงเทพมหานคร |
|
dc.title.alternative |
A study of health literacy of older persons, Bangkok metropolis |
|
dc.type |
Thesis |
|
dc.degree.name |
พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
พยาบาลศาสตร์ |
|
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
|
dc.email.advisor |
Jiraporn.Ke@Chula.ac.th |
|
dc.identifier.DOI |
10.58837/CHULA.THE.2019.1015 |
|