DSpace Repository

Development of bacterial cellulose as alumina catalyst support for ethanol dehydration

Show simple item record

dc.contributor.advisor Muenduen Phisalaphong
dc.contributor.advisor Bunjerd Jongsomjit
dc.contributor.author Miftahfarid Ibnu Abdulwahab
dc.contributor.other Chulalongkorn University. Faculty of Engineering
dc.date.accessioned 2020-04-05T09:18:06Z
dc.date.available 2020-04-05T09:18:06Z
dc.date.issued 2014
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65028
dc.description Thesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2014
dc.description.abstract In this study, novel alumina catalyst support derived from bacterial cellulose (BC) was developed. BC is composed of nanosized cellulose fibers produced by Acetobacter xylinum. BC supported alumina catalysts were prepared by soaking purified BC hydrogel in aluminium nitrate aqueous solution and then dehydrating. The effects of concentration of acidic metal (Al) loading and dehydrating methods (hot air-drying and freeze-drying) were investigated. The BC supported alumina catalysts were characterized by XRD, N2 physisorption, SEM, FT-IR, back titration, and TGA. After that, the catalytic activity was tested for ethylene production by dehydration reaction of ethanol in gas phase at atmospheric pressure and temperature in the range of 200 oC to 400 oC. It was found that Al loading had a significant effect on surface area and acidity of the catalysts. Increase in Al loading resulted in decreased surface area but increased acidity property. In this study, the 50Al/BC-TD catalyst exhibited the highest ethylene selectivity and ethanol conversion at the reaction temperature of 400 oC.
dc.description.abstractalternative งานวิจัยนี้ได้พัฒนาตัวรองรับของตัวเร่งปฏิกิริยาอะลูมินาแบบใหม่ที่ทำมาจากเซลลูโลสจากแบคทีเรีย ซึ่งประกอบด้วยเส้นใยเซลลูโลสขนาดนาโนที่สร้างโดยแบคทีเรียชนิด Acetobactor xylinum ตัวเร่งปฏิกิริยาอะลูมินาบนตัวรองรับเซลลูโลสดังกล่าวถูกเตรียมโดยการแช่เซลลูโลสจากแบคทีเรียบริสุทธิ์ในรูปไฮโดรเจลลงในสารละลายอะลูมิเนียมไนเตรต จากนั้นทำให้แห้ง ทำการศึกษาผลกระทบของความเข้มข้นของปริมาณโลหะที่เป็นกรด (อะลูมิเนียม) บนตัวรองรับ และวิธีการทำให้แห้ง (ทำให้แห้งแบบใช้อากาศร้อนและทําให้แห้งแบบเยือกแข็ง) ที่มีต่อคุณลักษณะของตัวเร่งปฏิกิริยา การวิเคราะห์คุณลักษณะของตัวเร่งปฏิกิริยาอะลูมินาบนตัวรองรับเซลลูโลสจากแบคทีเรียประกอบด้วย การกระเจิงรังสีเอ็กซ์ การดูดซับทางกายภาพด้วยไนโตรเจน กล้องจุลทรรศน์แบบส่องกราด การวิเคราะห์หาชนิดและปริมาณสารโดยการวัดการดูดกลืนแสงของสารในช่วงอินฟาร์เรด การไทเทรตแบบย้อนกลับ และการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงน้ำหนักโดยใช้ความร้อน หลังจากนั้น ทำการทดสอบความว่องไวของตัวเร่งปฏิกิริยาสำหรับการผลิตเอทิลีนโดยปฏิกิริยาการขจัดน้ำของเอทานอลในวัฏภาคแก๊สที่ความดันบรรยากาศและอุณหภูมิระหว่าง 200 ถึง 400 องศาเซลเซียส จากการศึกษาพบว่า ปริมาณอะลูมิเนียมบนตัวรองรับมีผลกระทบต่อพื้นที่ผิวและความเป็นกรดของตัวเร่งปฏิกิริยา การเพิ่มปริมาณอะลูมิเนียมบนตัวรองรับมีผลทำให้พื้นที่ผิวลดลง แต่คุณสมบัติความเป็นกรดเพิ่มขึ้น ในการศึกษานี้ ตัวเร่งปฏิกิริยาอะลูมินาบนตัวรองรับเซลลูโลสจากแบคทีเรียที่มีปริมาณอะลูมินาร้อยละ 50 และทำให้แห้งแบบใช้อากาศร้อน (50Al/BC-TD) ให้ค่าการเลือกเกิดของเอทิลีนและการเปลี่ยนแปลงของเอทานอลสูงสุดที่อุณหภูมิปฏิกิริยา 400 องศาเซลเซียส
dc.language.iso en
dc.publisher Chulalongkorn University
dc.rights Chulalongkorn University
dc.subject.classification Chemical Engineering
dc.title Development of bacterial cellulose as alumina catalyst support for ethanol dehydration
dc.title.alternative การพัฒนาเซลลูโลสจากแบคทีเรียเพื่อใช้เป็นตัวรองรับของตัวเร่งปฏิกิริยาอะลูมินาสำหรับการขจัดน้ำของเอทานอล
dc.type Thesis
dc.degree.name Master of Engineering
dc.degree.level Master's Degree
dc.degree.discipline Chemical Engineering
dc.degree.grantor Chulalongkorn University
dc.email.advisor Muenduen.P@Chula.ac.th
dc.email.advisor Bunjerd.J@Chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record