dc.contributor.author |
ปรีชา คุวินทร์พันธุ์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์ |
|
dc.coverage.spatial |
ไทย |
|
dc.date.accessioned |
2008-04-03T09:10:43Z |
|
dc.date.available |
2008-04-03T09:10:43Z |
|
dc.date.issued |
2526 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6515 |
|
dc.description.abstract |
การศึกษานี้เป็นการศึกษาเบื้องต้นเพื่อให้ได้ภาพรวมของการจัดช่วงชั้นทางสังคมของกรุงเทพมหานคร ความสนใจอยู่ที่ลักษณะทางสังคมและเศรษฐกิจของประชากรในแต่ละช่วงชั้น ความสัมพันธ์ภายในและระหว่างช่วงชั้น และการเลื่อนชั้นทางสังคม การจัดระเบียบช่วงชั้นทางสังคมของกรุงเทพมหานครแบ่งได้ออกเป็น3 ช่วงชั้น คือ ชั้นล่างได้แก่กลุ่มประชากรที่มีรายได้ไม่เกิน 4000 บาท มีการศึกษาจบประถม 4 เป็นส่วนใหญ่ ชั้นกลางได้แก่กลุ่มประชากรที่มีรายได้ระหว่าง 4000-10000 บาท มีการศึกษาปานกลาง และคนชั้นสูงได้แก่ผู้มีรายได้มากกว่า10000 บาทขึ้นไป ส่วนใหญ่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ร้อยละ 50.8 ของประชากรในกรุงเทพมหานครเป็นคนชั้นล่าง ร้อยละ 38.6 เป็นคนชั้นกลางและร้อยละ 10.6 เป็นคนชั้นสูง โดยทั่วไปคนชั้นสูงและชั้นกลางมีโอกาสในการเป็นเจ้าของสิ่งต่างๆ เช่นที่อยู่อาศัย เครื่องใช้ต่างๆ รวมถึงโอกาสในการพักผ่อนหย่อนใจ นอกจากนี้คนชั้นสูง ชั้นกลางยังมีความรู้สึกในการรวมกลุ่มสูงกว่าคนชั้นล่าง ความสัมพันธ์ระหว่างช่วงชั้นทางสังคมดังกล่าว มักจะเป็นความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล การพึ่งพาอาศัยกันระหว่างเพื่อน หรือ "ผู้ใหญ่" ที่อยู่ต่างช่วงชั้นสังคม เป็นปรากฎการณ์ปกติ ความรู้สึกถึงผลประโยชน์ที่แตกต่างกันระหว่างช่วงชั้นสังคม ไม่มากพอที่จะผลักดันให้เกิดการรวมกลุ่มภายในแต่ละช่วงชั้น การเลื่อนชั้นทางสังคมเป็นสิ่งที่ส่วนมากคาดหวังว่าเป็นไปได้ คนในแต่ละช่วงชั้นในปัจจุบันรับว่าตนเองมีสถานภาพทางช่วงชั้นดีกว่าบิดามารดา และส่วนมากก็คาดหวังว่าลูกจะสามารถเลื่อนฐานะให้ดีกว่าตนเองได้ในอีก 20 ปีข้างหน้า ภายใต้สภาวะทางสังคมและเศรษฐกิจในปัจจุบัน การเปลี่ยนแปลงในการจัดระเบียบช่วงชั้นทางสังคมในอีก 20 ปีข้างหน้า คงจะไม่มีผลให้เกิดความแตกต่างในการจัดระเบียบดังกล่าวจากที่เป็นอยู่ในปัจจุบันมากนัก อย่างไรก็ตามการศึกษาการจัดช่วงชั้นทางสังคมยังจำต้องศึกษาและค้นคว้าให้ละเอียดลึกซึ้งยิ่งกว่าการศึกษาในครั้งนี้ การปรับปรุงวิธีการศึกษาให้ดียิ่งขึ้นจะช่วยให้ความเข้าใจการจัดระเบียบช่วงชั้นทางสังคมเป็นไปอย่างถูกต้องและชัดเจนยิ่งขึ้น |
en |
dc.description.abstractalternative |
This is a preliminary study to acquire an overall picture of the social stratification of Bangkok Metropolitan. Particular interest is places on the general social and economic characteristics of the population in each social stratum, nature of the social relations within an between these strata and social mobility. The organisation of the social stratification of Bangkok Metropolitan is charaterised by the composition of three social strata : the lower socail stratum is a category of population who earns not more than 4000 baht a month and most of them get Prathom 4 certificates ; the middle social stratum earns an income between 4001-10000 baht a month and obtains a middle level education: and the upper social stratum procures an income above 10000 baht a month and most are university graduates. Fifty point eight percent, 38.6 percent and 10.6 percent of the total population are the lower, middle, and upper social strata respectively. In general, those who are in the upper and middle strata gain better opportunities in obtaining and possessing some properties such as houses and other modern facilities, as well as other social and recreational activities. The people of the upper and middle social strata are also more conscious of organising group activities ; though religious and social welfare rather than economic interest are pertaining to the group. Relations between each stratum are characterised by the interpersonal relationship. Mutual dependence among friends and "patron" cutting across the boundaries of social strata is not uncommon. People are not conscious of the differences in social and economic interest, therefore, groups based on such interest are not widely organised. People in the three strata recognise that social mobility is not impossible. Fifty percent of the population in the upper stratum, 46 percent of the middle stratum, and 29 percent of the lower stratum indicate that their status are higher than those of their parents. Most hold a positive expectation on their ability to educate their children and that their children would be able to upclimb to the higher status in the next twenty years. Under the present social and economic conditions it is expected that in the next twenty years, the organisations of Bangkok social stratification would not be much dissimilar to the present. However, an intensive study to acquire a deeper understanding is still necessary. Research tools have to be improved so that the study will be much more accurate. |
en |
dc.description.sponsorship |
เงินทุนอุดหนุนเพื่อเพิ่มพูนและพัฒนาประสิทธิภาพทางวิชาการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.format.extent |
2904295 bytes |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.language.iso |
th |
es |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.subject |
ชนชั้นในสังคม -- ไทย -- กรุงเทพฯ |
en |
dc.subject |
กรุงเทพฯ -- ภาวะสังคม |
en |
dc.subject |
อาชีพ -- ไทย -- กรุงเทพฯ |
en |
dc.subject |
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม |
en |
dc.subject |
การจัดระเบียบสังคม |
en |
dc.subject |
การเลื่อนฐานะทางสังคม |
en |
dc.title |
การจัดช่วงชั้นทางสังคมของกรุงเทพมหานคร : รายงานผลการวิจัย |
en |
dc.title.alternative |
โครงการการจัดช่วงชั้นทางสังคมของกรุงเทพมหานคร |
en |
dc.type |
Technical Report |
es |
dc.email.author |
ไม่มีข้อมูล |
|