dc.contributor.advisor |
สุจิตรา จงสถิตย์วัฒนา |
|
dc.contributor.author |
เบญจพร เนียรนาทสกุล |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2020-04-06T15:55:57Z |
|
dc.date.available |
2020-04-06T15:55:57Z |
|
dc.date.issued |
2544 |
|
dc.identifier.isbn |
9740308643 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65178 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 |
en_US |
dc.description.abstract |
การวิจัยนี้มีจุดมุงหมายที่จะศึกษาเนื้อหาและกลวิธีการสร้างจินตภาพที่เกี่ยวกับธรรมชาติในกวีนิพนธ์ของอุชเชนี เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ และ ไพวรินทร์ ขาวงาม รวมถึงการสื่อความหมายของจินตภาพที่เกี่ยวกับธรรมชาติ ที่ช่วยให้เข้าใจสาระสำคัญของงาน ผลการศึกษาพบว่าจินตภาพที่เกี่ยวกับธรรมชาติที่ปรากฏในกวีนิพนธ์ของกวีทั้งสามเป็นจินตภาพที่เกิดจากการใช้พรรณนาโวหาร การใช้ภาพพจน์และสัญลักษณ์ เพื่อสื่อภาพที่ชัดเจนเพื่อถายทอดอารมณ์ความรู้สึก เพื่อสื่อสารสำคัญ และเพื่อสร้างความหมายที่ลึกซึ้ง กวีเลือกใช้กลวิธีต่าง ๆ ทั้งการใช้คำนามและนามวลีที่กล่าวถึงธรรมชาติโดยตรง การใช้คำกริยาแสดงอาการ การใช้คำกริยาแสดงสภาพ การใช้คำขยายบอกแสง สี เสียง กลิ่น และสัมผัส การใช้คำเลียนเสียงธรรมชาติ และการใช้ภาพพจน์และสัญลักษณ์ ลักษณะการใช้ภาษาทั้งหมดนี้มุ่งสร้างจินตภาพที่ลอดคล้องกับสารสำคัญของเรื่อง มีสัมพันธภาพ และเป็นเอกภาพเพื่อเชื่อมโยงไปสู่ความเข้าใจความคิดและสารสำคัญที่กวีต้องการนำเสนอ อันได้แก่ การสร้างความหวังและกำลังใจ ปลอบประโลมใจผู้ทุกช้ยาก การปลูกฝังอุดมคติที่ดีงามแก่ผู้คน การแสดงสภาพสังคม และปัญหาสังคมที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน การนำเสนอและอธิบายหลักปรัชญาและธรรมะในศาสนาให้ผู้อ่านเกิดความเข้าใจอย่างถูกต้องลึกซึ้ง |
|
dc.description.abstractalternative |
The thesis is a study of the content and literary techniques in nature imagery in the poetry of Ujeni, Naowarat Pongpalboon and Paiwarin Khaongam as well as the significance of nature imagery in conveying the message of the works. The study reveals that nature imagery in the poetry of these poets is created through the use of description, metaphor and symbols. The poets employ the use of nouns and noun phrases describing nature. They also employ action verbs and static verbs, colour words and perception words, onomatopoeia, metaphor and symbols. All these literary techniques enhance the nature imagery, corresponding to the message of the works. The messages are mainly the giving of hope and consolation for the sufferers , the spreading of social ideals, the presentation of the social problems and the explanation of religious philosophy. |
|
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
อุชเชนี -- วิธีเขียน |
|
dc.subject |
เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ -- วิธีเขียน |
|
dc.subject |
ไพวรินทร์ ขาวงาม -- วิธีเขียน |
|
dc.subject |
ภาษาจินตภาพ |
|
dc.subject |
กวีนิพนธ์ไทย |
|
dc.subject |
จินตภาพ |
|
dc.subject |
Imaginary language |
|
dc.subject |
Thai poetry |
|
dc.subject |
Imagery (Psychology) |
|
dc.title |
จินตภาพที่เกี่ยวกับธรรมชาติในกวีนิพนธ์ของอุชเชนี, เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ และไพวรินทร์ ขาวงาม |
en_US |
dc.title.alternative |
Nautre imagery in the poeiry of Ujeni, Naowart Pongpaiboon and Paiwarin Khaongam |
en_US |
dc.type |
Thesis |
en_US |
dc.degree.name |
อักษรศาสตรมหาบัณฑิต |
en_US |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
en_US |
dc.degree.discipline |
ภาษาไทย |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |