DSpace Repository

ประสิทธิภาพการใช้ยาน้ำไอทราโคนาโซล เพื่อลดอัตราการใช้ยาแอมโฟเทอริซิน ในผู้ป่วยมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิดมัยอิลอยด์

Show simple item record

dc.contributor.advisor ธานินทร์ อินทรกำธรชัย
dc.contributor.advisor ชุษณา สวนกระต่าย
dc.contributor.author พิชัย คณิตจรัสกุล
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์
dc.date.accessioned 2020-04-07T04:51:29Z
dc.date.available 2020-04-07T04:51:29Z
dc.date.issued 2544
dc.identifier.isbn 9741700229
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65202
dc.description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 en_US
dc.description.abstract วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาถึงประสิทธิภาพการใช้ยานํ้าไอทราโคนาโซลเพื่อลดอัตราการใช้ยาแอมโฟเทอริซินในผู้ป่วยมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิดมัยอิลอยด์ วิธีดำเนินการ ทำการศึกษาเซิงทดลอง ใช้ยานํ้าไอทราโคนาโซลเปรียบเทียบกับยาหลอกในผู้ป่วยมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิดมัยอิลอยด์ที่ได้รับเคมีบำบัดสูตรมาตรฐานจำนวน 28 คน รวม 48 ครั้ง มีผู้ป่วย 3 คนที่ไม่ได้รับเคมีบำบัดสูตรมาตรฐาน ต่อมาสุ่มแบ่งผู้ป่วยแต่ละครั้งที่รับเคมีบำบัดให้รับยานํ้าไอทราโคนาโซล หรือยาหลอก ติดตามศึกษาเปรียบเทียบการใช้ยาแอมโฟเทอริซิน อัตราการติดเชื้อรา และอัตราการตายในผู้ป่วยทั้ง 2 กลุ่ม ผลการศึกษา พบว่ามีการใช้ยาแอมโฟเทอริซินลดลงในกลุ่มยานํ้าไอทราโคนาโซลเทียบกับกลุ่มยาหลอก ร้อยละ 36.4 และ 56.5 ตามลำดับ แต่ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ (P=0,29) และพบว่ามีอุบัติการณ์การติดเชื้อราแบบลุกลามลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติจาก ร้อยละ 30.4 ในกลุ่มยาหลอก เป็น ร้อยละ 4.5ในกลุ่มยานํ้าไอทราโคนาโซล สรุป การใช้ยานํ้าไอทราโคนาโซลเทียบกับยาหลอกมีความแตกต่างกันทางสถิติอย่างชัดเจนในการลดการติดเชื้อรา แต่ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติในการลดการใช้ยาแอมโฟเทอริซิน
dc.description.abstractalternative Objectives: To evaluate the efficacy of itraconazole oral solution in reduction of amphotericin B use in acute myeloid leukemia patients receiving standard regimen of chemotherapy. Methods: A randomized double blind, placebo-controlled trial was conducted. Forty-eight episodes in 28 patients were randomly assigned to receive either itraconazole (24 episodes) or placebo (24 episodes). Both groups were evaluated, regarding to the utilization of amphotericin B and the incidence of fungal infections. Results: Three episodes were excluded due to the modification of standard chemotherapy regimen. Of 45 evaluated episodes, less empirical amphotericin B was used in those receiving itraconazole [8 (36.4%) vs. 13 (56.5%) episodes, p=0.29]. One episode (4.5%) in the itraconazole group developed systemic fungal infection, compared to 7 episodes (30.4%) in the placebo group (p< 0.05). Conclusions: Itraconazole solution is effective in the prevention of invasive fungal infections in acute myeloid leukemia patients receiving standard chemotherapy regimen.
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject มะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิดไมอิลอยด์ en_US
dc.subject ปฏิชีวนะ en_US
dc.subject ไอทราโคนาโซล en_US
dc.subject Acute myeloid leukemia en_US
dc.subject Itraconazole en_US
dc.subject Itraconazole en_US
dc.title ประสิทธิภาพการใช้ยาน้ำไอทราโคนาโซล เพื่อลดอัตราการใช้ยาแอมโฟเทอริซิน ในผู้ป่วยมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิดมัยอิลอยด์ en_US
dc.title.alternative Efficacy of itraconazole solution as antifungal prophylaxis in the reduction of amphotericin use in acute myeloid leukemia : a randomized double blind, placebo-controlled trial en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline อายุรศาสตร์ en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor Tanin.I@Chula.ac.th
dc.email.advisor Chusana.S@Chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record