DSpace Repository

วิเคราะห์ร่างพระราชบัญญัติหลักประกันทางธุรกิจ พ.ศ. ... : ศึกษาเฉพาะกรณีการนำกิจการมาเป็นหลักประกัน

Show simple item record

dc.contributor.advisor ไพฑูรย์ คงสมบูรณ์
dc.contributor.advisor ธรรมนูญ พิทยาภรณ์
dc.contributor.author วรินทรา ชาครพิพัฒน์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์
dc.coverage.spatial ไทย
dc.date.accessioned 2020-04-10T16:32:36Z
dc.date.available 2020-04-10T16:32:36Z
dc.date.issued 2545
dc.identifier.issn 9741726074
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65235
dc.description วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 en_US
dc.description.abstract วิทยานิพนธ์นี้มีชุดมุ่งหมายในการวิเคราะห์ถึงปัญหาและข้อขัดข้องของการนำกิจการมาเป็นหลักประกันตามร่างพระราชบัญญัติหลักประกันทางธุรกิจ พ.ศ. ... แล้วนำผลการศึกษามาหาข้อสรุปและเสนอแนะวิธีการที่เหมาะสมในการแก้ไขข้อขัดข้องบัน ทั้งนี้เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ทุกฝ่ายในการนำกิจการมาเป็นหลักประกัน ผลจากการศึกษาพบว่าการนำกิจการมาเป็นหลักประกันตามร่างพระราชบัญญัติหลักประกันทางธุรกิจ พ.ศ. ... นั้นยังมีขอบเขตที่จำกัด กล่าวคือ มีการกำหนดจำนวนหนี้ขั้นตํ่าที่จะเป็นประกันเอาไว้เป็นจำนวน 500 ล้านบาท ซึ่งจะทำให้กิจการที่จะสามารถนำมาเป็นหลักประกันได้นั้นมีจำนวนน้อย นอกจากนั้นในการบังคับหลักประกันและจำหน่ายหลักประกันนั้นกำหนดให้ศาลเป็นผู้บังคับและจำหน่ายหลักประกันซึ่งจะทำให้เกิดความล่าข้าและขาดความเชี่ยวชาญในการบังคับหลักประกัน ผู้เขียนเสนอแนะให้มีการแก้ไขร่างพระราชบัญญัติหลักประกันทางธุรกิจ พ.ศ. ... โดยไม่กำหนดจำนวนหนี้ขั้นตํ่าที่เป็นประกันไว้ ส่วนกรณีการดำเนินการบังคับและจำหน่ายหลักประกันก็ให้เป็นหน้าที่ของผู้บริหารกิจการชั่วคราวโดยให้ศาลเพียงแต่มีหน้าที่ในการตรวจสอบการทำหน้าที่ของผู้บริหารกิจการชั่วคราวเท่านั้น นอกจากนี้เสนอแนะให้มีการจัดทำสัญญาเพื่อตกลงในเรื่องสิทธิหน้าที่ระหว่างผู้ให้หลักประกันและผู้รับหลักประกันรวมทั้งบุคคลภายนอกในเรื่องที่เกี่ยวกับการใช้เงินสินเชื่อ สิทธิของคู่สัญญาในการจำหน่ายจ่ายโอนทรัพย์สินที่เป็นประกันและสิทธิของบุคคลภายนอกในทรัพย์สันของกิจการ ทั้งนี้เพื่อแก้ไขปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นในทางปฏิบัติ
dc.description.abstractalternative The objective of this thesis is to analyse problems and difficulties of project given as security in accordance with the Draft Secured Transaction Act B E. ...... The conclusion of this study has proposed appropriate approaches in dealing with certain problems and difficulties. This should be benefit to all parties who would use their projects as securities. According to the study, the researcher found that there are some limitations in using project as security in accordance with the Draft Secured Transaction Act B.E. .... The requirement that debt to be given as security must be Baht 500 Million in minimum prohibits a number of enterprises from giving a project as security. Moreover, the provision that allows courts to have authority to enforce and sell the security is also a limitation as the court procedure would delay the overall process and judges may have inadequate skills on enforcement. The researcher therefore recommended that the Draft Secured Transaction Act B.E. ..... shall be amended. Firstly, the minimum amount of debt requirement shall not be limited. Secondly, in case of enforcement and sale, the administrators in charge shall be directly authorized and the courts shall only monitor the administrators in charge to ensure that they have duly performed their duties. Furthermore, the researcher recommended that a contract should be concluded in order to settle the rights and duties amongst chargor, chargee and other parties with regard to the use of credit, the parties’ right to sell and transfer secured assets, and the right of other parties in project's assets. Respectively, the proposed alternatives would prevent and correct any mistakes likely to occurred in practice.
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject พระราชบัญญัติหลักประกันทางธุรกิจ en_US
dc.subject สินเชื่อการค้า en_US
dc.subject ค้ำประกัน en_US
dc.subject วิธีพิจารณาความแพ่ง en_US
dc.subject จำนอง en_US
dc.subject กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ -- จำนอง en_US
dc.subject หลักประกัน -- ไทย en_US
dc.subject Commercial credit en_US
dc.subject Suretyship and guaranty en_US
dc.subject Civil procedure en_US
dc.subject Mortgages en_US
dc.subject Security (Law) en_US
dc.subject Security (Law) -- Thailand en_US
dc.title วิเคราะห์ร่างพระราชบัญญัติหลักประกันทางธุรกิจ พ.ศ. ... : ศึกษาเฉพาะกรณีการนำกิจการมาเป็นหลักประกัน en_US
dc.title.alternative Analysis on the draft secured transaction act B.E. ... : a case study of projects given as security en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name นิติศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline นิติศาสตร์ en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor Paitoon.K@chula.ac.th
dc.email.advisor ไม่มีข้อมูล


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record