dc.contributor.advisor |
แกมทอง อินทรัตน์ |
|
dc.contributor.author |
สมศักดิ์ ติณห์กีรดิศ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเศรษฐศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2020-04-11T16:18:29Z |
|
dc.date.available |
2020-04-11T16:18:29Z |
|
dc.date.issued |
2545 |
|
dc.identifier.issn |
9741730012 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65273 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (ศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 |
en_US |
dc.description.abstract |
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ในการจัดสรรงบประมาณสาธารณสุข ในโครงการ "30 บาทรักษาทุกโรค" ที่ได้เริ่มดำเนินการใน 21 จังหวัดนำร่อง อาศัยการรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิช่วงเดือน ตุลาคม 2544 ถึง พฤษภาคม 2545 ภายใต้กรอบแนวคิดความเป็นธรรมในการจัดสรรงบประมาณที่ว่า การจัดสรรงบประมาณที่เหมาะสมควรคำนึงถึงทั้งปัจจัยด้านความจำเป็นและอุปทานทางด้านบริการสาธารณสุขในแต่ละแห่ง โดยตัวแปรทางด้าน ความจำเป็นประกอบด้วย จำนวนประชากรปรับด้วยอัตราส่วนการตายมาตรฐาน ระดับรายได้เฉลี่ย และสัดส่วนประชากรวัยพึ่งพิง ปัจจัยทางด้านอุปทานประกอบด้วย จำนวนครั้งผู้ป่วยนอก จำนวนรายผู้ป่วยใน และจำนวน ครั้งของผู้มารับบริการด้านอุบัติเหตุ ตัวแปรตาม ได้แก่ งบประมาณที่จัดสรรให้แก่ 21 จังหวัด คำนวณในรูปสมการถดถอยโดยวิธี Ordinary Least Square ทำการจัดสรรงบประมาณใหม่ให้แก่จังหวัดเพื่อดูความแตกต่างที่เกิดขึ้นโดยพิจารณาสถานะทางการเงินประกอบเพื่อใช้เป็นแนวทางในการสะท้อนถึงลักษณะสถานะการณ์จริงด้านงบประมาณ และทำการทดลองจัดสรรงบประมาณในระดับจังหวัด (กรณีศึกษา จ.ศรีสะเกษ) ผลการศึกษาพบว่า การจัดสรรงบประมาณใน 21 จังหวัด พบว่างบประมาณที่ควรจัดสรรจากการแบบจำลองมีความแตกต่างกับงบประมาณที่ได้รับจัดสรรจริงอยู่มาก โดยในจังหวัดส่วนใหญ่ที่ควรได้รับการจัดสรรงบประมาณเพิ่มขึ้นจากแบบจำลองเมื่อพิจารณาสถานะทางการเงินมีสถานะทางการเงินที่ติดลบ และในจังหวัดที่ควรได้รับการจัดสรรงบประมาณลดลงจากแบบจำลองเมื่อพิจารณาสถานะทางการเงิน มีสถานะทางการเงินที่เป็นบวก ซึ่งความสอดคล้องดังกล่าวมีจำนวนประมาณ 60% จากจังหวัดทั้งหมดที่ทำการศึกษา ซึ่งอาจกล่าวได้ว่า ลักษณะการจัดสรรงบประมาณที่ได้จากแบบจำลองมีความเหมาะสมในระดับหนึ่งเมื่อพิจารณาสถานะทางการเงิน ดังนั้นในภาพรวมงบประมาณที่ได้รับในหลายจังหวัดจึงยังไม่สอดคล้องกับงบประมาณที่คำนึงถึงความจำเป็นและอุปทานทางด้านบริการสาธารณสุข ในกรณีศึกษาจังหวัดศรีละเกษพบว่า การจัดสรรงบประมาณที่ได้จากแบบจำลองมีความแตกต่างจากงบประมาณที่ได้รับจัดสรรจริงอยู่มากเช่นเดียวกัน โดยเมื่อ พิจารณาถึงต้นทุนในการให้บริการที่เกิดขึ้น พบว่าในหลายอำเภองบประมาณที่ได้จากแบบจำลองยังไม่เพียงพอต่อต้นทุนดำเนินการที่เกิดขึ้น อย่างไรก็ตามการสร้างแบบจำลองการจัดสรรงบประมาณในระดับที่เล็กลงนั้น อาจจำเป็นต้องการตัวแปรที่สามารถสะท้อนถึงความแตกต่างของสถานบริการที่ละเอียดยิ่งขึ้น |
|
dc.description.abstractalternative |
The purpose of this thesis is to suggest the budget allocation model in “30 Baht Universal Coverage” for achieving equity health. The equity is defined as an equality of input for equal need, by studying only recurrent budget of fiscal years from October, 2001 - May, 2002 of health service facilities under the responsible of the Public Health Ministry. By Ordinary Least Square equation method. Under equity frame frame work in allocated budget, allocation should depend on both need and supply side of each province. So this thesis uses population adjust standardized mortality ratio, dependent population ratio, gross provinces product, number of out-patients, in-patients case and number of accidental as an indicator of health need and supply of each provinces. Compute these variable by using Ordinary Least Square method and reallocated for compare the different to real receiving budget by also consider balance payment situation. เท additional, had study allocation for aumpor in Sisaket province, by using same method and variables. This thesis’s result show that almost province have receieved budget differently when compared with budget which got from budget allocation model . And discovered provinces which had received budget under budget that get from budget allocation model have problem with deficit balance payment. In opposite, which province that had received budget over budget that get from budget allocation model have notprlblem with indeficit balance payment . So may reflected that allocation budget in province level had not accorded to need and supply of each province. And result in allocation budget for aumpor level is almost aumpors have receieved budget differently when compared with budget which get from budget allocation model too. And budget which received from model can not cover operating cost in each hospital. However, created allocation model for smaller place should use variables that can reflect different of hospital level will better. |
|
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.14457/CU.the.2002.613 |
|
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
โครงการ 30 บาท รักษาทุกโรค |
en_US |
dc.subject |
กระทรวงสาธารณสุข -- งบประมาณ |
en_US |
dc.subject |
แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ |
en_US |
dc.subject |
ประกันสุขภาพ |
en_US |
dc.subject |
30 baht universal coverage policy |
en_US |
dc.subject |
Ministry of Public Health -- Budget |
en_US |
dc.subject |
Mathematical models |
en_US |
dc.subject |
Health insurance |
en_US |
dc.title |
การวิเคราะห์การจัดสรรงบประมาณสาธารณสุขในโครงการ "30 บาทรักษาทุกโรค" |
en_US |
dc.title.alternative |
Budget allocation analysis under the 30 baht universal coverage policy |
en_US |
dc.type |
Thesis |
en_US |
dc.degree.name |
เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต |
en_US |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
en_US |
dc.degree.discipline |
เศรษฐศาสตร์ |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.email.advisor |
Kaemthong.I@chula.ac.th |
|
dc.identifier.DOI |
10.14457/CU.the.2002.613 |
|