DSpace Repository

การปรับปรุงแผนงาน การซ่อมบำรุงรักษาเชิงป้องกันของมอเตอร์และอุปกรณ์ควบคุมมอเตอร์ สำหรับโรงกลั่นน้ำมันหล่อลื่นพื้นฐาน

Show simple item record

dc.contributor.advisor สมชาย พัวจินดาเนตร
dc.contributor.author ดนัย พยุงวงษ์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2020-04-17T05:45:57Z
dc.date.available 2020-04-17T05:45:57Z
dc.date.issued 2545
dc.identifier.isbn 9741726252
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65354
dc.description วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 en_US
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อปรับปรุง แผนงานการซ่อมบำรุงรักษาเชิงป้องกันของมอเตอร์และอุปกรณ์ควบคุมมอเตอร์สำหรับโรงกลั่นน้ำมันหล่อลื่นพื้นฐาน โดยวิธีการจัดกลุ่มเครื่องจักรตามสภาพการทำงาน เพื่อนำมาจัดกลุ่มวิเคราะห์แผนงานการซ่อมบำรุงรักษาเชิงป้องกัน ของมอเตอร์ และอุปกรณ์ควบคุมมอเตอร์โดยกำหนดกิจกรรมต่าง ๆในการทำงาน และได้นำวิธีการพยากรณ์ ความเสียหายของเครืองจักร ( Predictive Maintenance ) มาใช้แทนการซ่อมใหญ่ ( Overhaul ) ทีกำหนดเป็นเวลาที่ต้องทำแน่นอนตายตัว วิธีการพยากรณ์นี้ทำโดยการตรวจสอบ วัดค่าต่าง ๆ ขณะที่มอเตอร์กำลังใช้งานในการผลิตตามปกติ แล้วนำข้อมูลมาวิเคราะห์ค่าดูแนวโน้ม ติดตามผล เพื่อเตรียมการวางแผนงานซ่อมใหญ่ต่อไป หลังจากการปรับปรุงแผนการทำงานและนำไปใช้งานพบว่าจำนวนชั่วโมงคน โดยเฉลี่ยที่ใช้ในการทำงานบำรุงรักษาเชิงป้องกันของมอเตอร์และอุปกรณ์ควบคุมมอเตอร์ลดลงจาก 23.81%ของชั่วโมงคนทั้งหมด ก่อนการปรับปรุง เหลือ 17.28% หลังการปรับปรุง จำนวนชั่วโมงคนโดยเฉลี่ยที่ใช้ใน การซ่อมมอเตอร์ก่อนการปรับปรุง 4.65% หลังการปรับปรุง 2.46% และจำนวนชั่วโมงคน โดยเฉลี่ยที่ใช้ในการซ่อมอุปกรณ์ควบคุมมอเตอร์ก่อนการปรับปรุง 1.16%หลังการปรับปรุง 0.57%ซึ่งเป็นการยืนยันได้ว่า เมื่อปรับปรุงและลดแผนการทำงานบำรุงรักษาเชิงป้องกันของมอเตอร์และอุปกรณ์ควบคุม มอเตอร์แล้วนั้น มอเตอร์และอุปกรณ์ควบคุมมอเตอร์ไม่ได้เกิดความเสียหายไปมากกว่าเดิม
dc.description.abstractalternative The aim of this research was to improve the preventive maintenance plan of motors and motor control centers for lube- based oil plant. Condition running machine were classified to manage the preventive maintenance plan of motors and motor control centers by planning its activities 1 and used predictive maintenance methods instead of overhauling that requires a set date. This predictive method was done by measuring any parameters while motors worked in the usual production. then data was used to analyze and followed to prepare the overhaul maintenance. After being improved 1 the preventive method plan was used and it was found that the mean value of man- hours for preventive maintenance motors and motor control centers decreased from 23.81% to 17.28%. The mean value of man-hours that was used to repair motors decreased from 4.65% to 2.46%. The mean value of man-hours that was used to repair motors control centers decreased from 1.16% to 0.57%. From the result it was shown that the improvement and used of the preventive maintenance plan of motors and motor control centers decreased the mean value of manhours working and machine breakdown did not more increase than before improve preventive maintenance plan.
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject การบำรุงรักษาโรงงาน en_US
dc.subject เครื่องจักรกล -- การบำรุงรักษาและการซ่อมแซม en_US
dc.subject น้ำมันหล่อลื่น en_US
dc.subject Plant maintenance en_US
dc.subject Machinery -- Maintenance and repair en_US
dc.subject Lubricating oils en_US
dc.title การปรับปรุงแผนงาน การซ่อมบำรุงรักษาเชิงป้องกันของมอเตอร์และอุปกรณ์ควบคุมมอเตอร์ สำหรับโรงกลั่นน้ำมันหล่อลื่นพื้นฐาน en_US
dc.title.alternative Improvement of preventive maintenance plan of motors and motor control centeres for lube base oil plant en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline วิศวกรรมอุตสาหการ en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor Somchai.Pua@Chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record